Interdisciplinary Academic and Research Journal最新文献

筛选
英文 中文
Development of Mathematics Teaching Models According to the Theory of Knowledge Creation to Promote the Mathematical Competence of Mathayom 6 Student 根据知识创造理论开发数学教学模式以提高数学六年级学生的数学能力
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276476
Borapit Wongman
{"title":"Development of Mathematics Teaching Models According to the Theory of Knowledge Creation to Promote the Mathematical Competence of Mathayom 6 Student","authors":"Borapit Wongman","doi":"10.60027/iarj.2024.276476","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276476","url":null,"abstract":"Background and Aims: The development of human thought is greatly aided by mathematics, which fosters creativity, and logical and systematic thought, benefits life, and raises the standard of living. (1) the first goal of this research is to create a mathematical teaching model for Mathayom 6 students that is based on the theory of knowledge creation. And (2) Examine the effects of utilizing a theory of knowledge creation-based mathematics teaching model to enhance Mathayom 6 students' mathematical proficiency.\u0000Methodology: Three research steps make up this study. (1) Phase 1: Basic information, current conditions, and conditions for teaching mathematics are studied, along with concepts, theories, and research about models of teaching mathematics based on knowledge creation theory to enhance secondary school students' mathematical competency. Year 6 by speaking with five education specialists. (2) Phase 2: Creating a teaching model for mathematics based on the theory of knowledge creation to help students in Mathematical Competency 6 and (3) Phase 3: Testing out a model of teaching mathematics based on the theory of knowledge creation to improve Mathayom 6 students' performance in the subject. Thirty Mathayom 6 students from Thesaban 2 School in Nangrong Municipality, Nangrong District, Buriram Province participated in the model's testing as a sample group during the second semester of the academic year 2022; (1) A mathematics teaching model based on the theory of knowledge creation to support Mathayom 6 students' mathematical competency is one of the instruments used to gather data. (2) Learning Satisfaction Scale; (3) Mathematics Competency Test; and (2) Achievement Test, the t-test (Dependent), mean, percentage, and standard deviation are among the statistics used in data analysis.\u0000Results: (1) A mathematical competency-promoting teaching model for Mathayom 6 students, based on the theory of knowledge creation. There are six parts. These include the model's goals, instructional strategies, social systems, response theories, and support networks. Four steps make up the teaching process: (1.1) Step of operation (Operation: O) (1.2) Step two: Action (Acting: A) (1.3) Step three: Knowledge creation (Creation: C), additionally, (1.4) Recapitulating the idea (Idea: C) and a high degree of appropriateness was indicated by the model's evaluation results, which had a mean of 4.47 and a standard deviation of 0.41. (2) The application of the theory of knowledge creation to the mathematics teaching model revealed that at a statistical significance of.05., students' academic achievement is higher than it was before they started studying. When Mathayom 6 students use the mathematics teaching model, their performance in mathematics exceeds the 70% threshold. Additionally, a high degree of student satisfaction has been observed with the mathematics teaching model.\u0000Conclusion: To emphasize mathematical competency, the study presents a comprehensive teaching mod","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"9 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141688629","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276821
นิเวศ เผื่อนทิม
{"title":"การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม","authors":"นิเวศ เผื่อนทิม","doi":"10.60027/iarj.2024.276821","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276821","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในระดับอุดมศึกษา ต้องให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและถอดบทเรียนจากการปฏิบัตินั้น ๆ โดยเฉพาะรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเป็นการฝึกผู้เรียนให้ได้เรียนรู้จากหลากหลายสถานที่ทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสามารถออกแบบชิ้นงานได้ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน 2)เพื่อเปรียบเทียบทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และ3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คนได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรมชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ศป 2106214 การออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แบบวัดทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน สถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหาค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ค่าเฉลี่ย และผลต่าง (D)\u0000ผลการวิจัย: 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ และ 14 กิจกรรมย่อย มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาได้ค่า 4.61 มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มีค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.48/80.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2)ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีทักษะการออกแบบแฟชั่นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนผลต่าง (D) +4.82 และ 3) ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน อยู่ในระดับมากที่สุด\u0000สรุปผล: ผลจากการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) สามารถช่วยให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถออกแบบชิ้นงานที่หลากหลายอีกทั้งจากผลการสอบถามความพึงพอใจนักศึกษามีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"28 22","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141684704","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลของการสะท้อนคิดจากการฝึกจริยธรรมต่อการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครู ผลของการสะท้อนคิดจากการฝึกจริยธรรมต่อการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครู
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276639
จักรพงษ์ นิลพงษ์
{"title":"ผลของการสะท้อนคิดจากการฝึกจริยธรรมต่อการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครู","authors":"จักรพงษ์ นิลพงษ์","doi":"10.60027/iarj.2024.276639","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276639","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เป็นความท้าทายสำคัญของสถาบันผลิตครู โดยเฉพาะการเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพและคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักศึกษาครู งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาผลของกระบวนการสะท้อนคิดจากการฝึกจริยธรรมที่มีต่อการส่งเสริมประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครู เพื่อสังเคราะห์แก่นสาระสำคัญที่สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างการฝึกจริยธรรม กระบวนการสะท้อนคิด และการพัฒนาตนเองในมิติของความเป็นครู\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้เก็บข้อมูลจากแบบบันทึกผลการสะท้อนคิดออนไลน์ กับนักศึกษาครูที่เข้าร่วมอบรมหลักสูตรจริยธรรมที่เน้นการปฏิบัติธรรมและการสะท้อนคิด จำนวน 87 คน จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์แก่นสาระ (Thematic Analysis) เพื่อค้นหาประเด็นสำคัญที่สะท้อนผลของการฝึกจริยธรรมร่วมกับการสะท้อนคิดที่มีต่อการพัฒนาตนเองเพื่อส่งเสริมความเป็นครูมืออาชีพ\u0000ผลการวิจัย: ผลการวิเคราะห์พบแก่นสาระสำคัญ 5 ประเด็น คือ 1) การตรงต่อเวลาส่งเสริมความรับผิดชอบและวินัยในตน 2) การสำรวมกาย วาจา ใจ เป็นพื้นฐานของความเป็นครู 3) การสวดมนต์ ทำสมาธิ และตักบาตร ทำบุญ ช่วยให้จิตใจสงบ มีสติ และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 4) การสังเกตอาการเผลอคิดทำให้เข้าใจตนเอง มีสติ และตั้งใจกับปัจจุบัน ซึ่งมีประโยชน์ต่อการสอนและพัฒนาตนเอง 5) การวิเคราะห์ขั้นตอนการปฏิบัติธรรมทำให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของการปฏิบัติธรรมในการพัฒนาจิตใจและทักษะการสอน ทั้ง 5 แก่นสาระสะท้อนความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างการฝึกจริยธรรม การสะท้อนคิด และการพัฒนาตนเองในมิติจิตใจ ความคิด และพฤติกรรมการสอน อันจะนำไปสู่ความเป็นครูมืออาชีพ\u0000สรุปผล: การฝึกจริยธรรมที่เน้นการสะท้อนคิดเพื่อปรับปรุงการฝึกวิชาชีพเป็นกระบวนการสำคัญในการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21 ซึ่งจำเป็นต้องพัฒนาครูทั้งในมิติของความรู้ ทักษะ และจริยธรรมไปพร้อม ๆ กัน อันจะนำไปสู่การสร้างครูคุณภาพที่พร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"7 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141687274","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีและผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีและผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276718
สุนิสา ภู่สงค์, ดวงกมล ชัยศรีษะ, จุฑาธิป จันทร์ทรง
{"title":"ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีและผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร","authors":"สุนิสา ภู่สงค์, ดวงกมล ชัยศรีษะ, จุฑาธิป จันทร์ทรง","doi":"10.60027/iarj.2024.276718","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276718","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นธุรกิจที่มีความสำคัญในฐานะกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ที่มาจากฐานรากหรือประชาชนคนทั่วไปประกอบธุรกิจ ซึ่งการดำเนินธุรกิจให้สามารถเกิดประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จได้นั้น ผู้ประกอบการจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีที่มีคุณภาพเพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนในการดำเนินงานให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้กำหนดไว้ ดังนั้นในการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีกับผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้บริหารธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จำนวน 400 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ\u0000ผลการวิจัย: 1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพข้อมูลทางการบัญชี โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด ตามลำดับ 2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านลูกค้า มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด 3) ผลการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์เพียรสันของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม โดยภาพรวมคุณภาพของข้อมูลทางการบัญชี อยู่ในระดับความสัมพันธ์สูง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ r=0.896 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และผลการทดสอบความสัมพันธ์ของสัมประสิทธิ์การถดถอยเชิงพหุ พบว่า ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ด้านความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ด้านความสามารถเปรียบเทียบได้ ด้านความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของธรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05\u0000สรุปผล: คุณภาพข้อมูลทางการบัญชีมีความสัมพันธ์และผลกระทบต่อผลการดำเนินธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานของผู้บริหารต้องเจอกับปัญหาต่างๆ จึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีมาช่วยในการบริหารงาน โดยเฉพาะความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ความสามารถเปรียบเทียบได้ และความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ เพื่อให้ผู้บริหารได้นำข้อมูลในการพยากรณ์หรือวางแผนการดำเนินงานให้ได้มาซึ่งผลการดำเนินงานที่ดีในการพัฒนาและปรับปรุงองค์กร","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"34 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141688061","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.273283
ภัทราภรณ์ ภูจำปา, พรรณวิไล ดอกไม้
{"title":"การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6","authors":"ภัทราภรณ์ ภูจำปา, พรรณวิไล ดอกไม้","doi":"10.60027/iarj.2024.273283","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.273283","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเข้าใจกระตุ้นเพื่อนำความสนใจทำให้ผู้เรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้ที่หลายหลายเข้าด้วยกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความคิดริเริ่มที่จะปรับปรุงแก้ไข สร้าง ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ให้ทนทาน หรือมีความแปลกใหม่ขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มที่ศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านยางน้อย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ ใช้ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน จำนวน 1 แผนการจัด การเรียนรู้ ทั้งหมด 14 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 4 ข้อ 4 ด้าน ที่มีค่าความเที่ยงตรง (IOC) เท่ากับ 0.60 - 1.00 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 – 0.77 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.70 สถิติที่ใช้ ได้แก่ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon Signed-rank Tests)\u0000ผลการวิจัย: (1) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการประเมินคุณภาพกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า มีระดับเหมาะสมมากที่สุด  (2) นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\u0000สรุป: นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงงานที่เน้นเรื่องไฟฟ้าและบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนี้ หลังจากการมีส่วนร่วมในโครงการ นักเรียนได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยเน้นย้ำถึงประสิทธิผลของกลยุทธ์นี้ในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"16 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141684934","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
TPACK Ability Test for Junior College Teacher Internship Students in Primary School Chinese 小学中文专业大专实习生 TPACK 能力测试
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276487
Fang Fang, Nainapas Injoungjirakit, Prapai Sridama, S. Teekasap
{"title":"TPACK Ability Test for Junior College Teacher Internship Students in Primary School Chinese","authors":"Fang Fang, Nainapas Injoungjirakit, Prapai Sridama, S. Teekasap","doi":"10.60027/iarj.2024.276487","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276487","url":null,"abstract":"Background and Aims: TPACK (Technological Pedagogical and Content Knowledge) is an essential ability for teachers in the digital era that has a high effect on the quality of basic education. In this paper, 55 junior college teacher education students in the class of 2021, majoring in elementary education as teacher education students in Guangxi, were measured at the beginning of their educational internships to understand their level of TPACK.\u0000Methodology: Using a homemade TPACK measurement tool, a test paper, which experts had evaluated. Research results indicate that the scores in the seven dimensions of TK, PK, CK, TPK, TCK, PCK, and TPCK range from 30.5% to 61%, among which TPK was the highest and TK was the lowest. Overall, the TPACK ability was at a low level.\u0000Results: Results showed that the TPACK test results of teacher education students of primary school Chinese will provide an important basis for formulating TPACK improvement strategies in the internship stage.\u0000Conclusion: The results show that measuring TPACK competency in Chinese teacher education students in elementary schools is an essential first step toward developing focused tactics to improve TPACK in the internship stage. This realization emphasizes how important it is to match educational interventions to particular skill development requirements to maximize teaching efficacy in elementary school environments.","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"49 7","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141687818","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครราชสีมา การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครราชสีมา
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276760
กรกต วัดเข้าหลาม, ลักขณา สริวัฒน์
{"title":"การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครราชสีมา","authors":"กรกต วัดเข้าหลาม, ลักขณา สริวัฒน์","doi":"10.60027/iarj.2024.276760","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276760","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ความรู้เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะตัว เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่มีโดยไม่จำกัด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น ยิ่งบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มากเท่าใด ก็ยิ่งสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้มากขึ้นขึ้นอีก และยังสามารถนำเอาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการจัดการความรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา และ (2) พัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การดำเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น การจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 92 คน และครูผู้สอน จำนวน 249 คน ได้มาโดยเปิดตารางของ Krejcie and Morgan (1970)แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแต่ละโรงเรียนแบ่งตามขนาดโรงเรียน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ได้จำนวน 341 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และวิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 4 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา\u0000ผลการวิจัย: (1) สภาพปัจจุบันการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ด้านการนำความสู่การปฏิบัติ ด้านการสร้างและแสวงหาความรู้ ด้านการประมวลและกลั่นกรองความรู้ด้านการบ่งชี้ความรู้ และด้านการจัดความรู้ให้เป็นระบบ (2) แนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยวิธีการตามวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) มีการดำเนินการ 6 ขั้นตอน 30 แนวทาง ได้แก่ ขั้นตอนการบ่งชี้ความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการสร้างและแสวงหาความรู้ 5 แนวทางขั้นตอนการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 5 แนวทาง ขั้นตอนการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5 แนวทางและขั้นตอนการน าความสู่การปฏิบัติ 5 แนวทาง ทั้ง 6 ขั้นตอนดำเนินการตามกระบวนการของวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) ได้ดังนี้ (P) Plan คือการวางแผนร่วมกันของผู้บริหารและครูผู้สอนในการจัดการความรู้ (D) Do คือการดำเนินการจัดการความรู้ของสถานศึกษาด้วยวิธีการต่าง ๆ (C) Check ผู้บริหารสถานศึกษา มีการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานของครูทุกท่าน และ (A) Act คือมีการตรวจสอบเก็บรวบรวมสารสนเทศ และสะท้อนผลย้อนกลับสู่ผู้ที่สนใจ โดยผลการประเมินความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก\u0000สรุปผล: สถานภาพการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมาอยู่ในระดับปานกลาง แต่มีเงื่อนไขในอุดมคติอยู่ในระดับสูงที่สุด เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการปรับปรุงการสร้างองค์ความรู้ การประยุกต์ การแบ่งปัน และการจัดระบบ นอกจากนี้","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"42 9","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141688128","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิชูทิศ การศึกษาความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิชูทิศ
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-06-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.276464
ทักษิณา ชัยชนะ, จุฑาภรณ์ มาสันเทียะ, ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์
{"title":"การศึกษาความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิชูทิศ","authors":"ทักษิณา ชัยชนะ, จุฑาภรณ์ มาสันเทียะ, ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์","doi":"10.60027/iarj.2024.276464","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276464","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ทักษะการพูดเป็นทักษะที่สำคัญในการสื่อสาร เนื่องจากเป็นทักษะเบื้องต้นที่ใช้ในการสื่อสารและการดำเนินชีวิตประจำวันซึ่งมีหลายปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษ ซึ่งความวิตกกังวลในเรื่องการพูดนี้เป็นที่ยอมรับกันว่ามีผลต่อการแสดงออกต่อการพูดของผู้เรียน ความรู้สึกวิตกกังวลความประหม่าเป็นเรื่องที่พบเห็นโดยปกติในการเรียนภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิชูทิศ สำนักงานเขตดินแดง สังกัดกรุงเทพมหานคร และ (2) เปรียบเทียบ ความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิชูทิศ สำนักงาน เขตดินแดง สังกัดกรุงเทพมหานคร ระหว่างนักเรียนที่เรียนในแผนการเรียนแบบปกติและแผนการเรียน แบบภาษาอังกฤษ\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2566 จำนวน 186 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม ความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษ แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่, ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาค่าสถิติทดสอบทีสำหรับเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน\u0000ผลการวิจัย:  (1) นักเรียนที่เรียนในแผนการเรียนแบบปกติ มีความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับรุนแรง (2) นักเรียนที่เรียนแผนการเรียนแบบภาษาอังกฤษมีความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับต่ำมาก (3) ความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายโรงเรียนวิชูทิศ ระหว่างนักเรียนที่เรียนในแผนการเรียนแบบปกติและแผนการเรียนแบบภาษาอังกฤษโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  \u0000สรุปผล: เมื่อพูดภาษาอังกฤษ นักเรียนที่ปฏิบัติตามแผนการเรียนตามปกติจะมีระดับความวิตกกังวลสูงกว่านักเรียนที่ปฏิบัติตามแผนการเรียนภาษาอังกฤษโดยเฉพาะ แสดงให้เห็นว่าการศึกษาภาษาเฉพาะทางมีประสิทธิภาพในการลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาษาของนักเรียนโรงเรียนวิชุทิศ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 9","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141369211","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การสร้างสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง นิราศภูเขาทอง การสร้างสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง นิราศภูเขาทอง
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-06-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.276977
ศรีสุภัค เสมอวงษ์, พัชรินทร์ ส่วยสิน
{"title":"การสร้างสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง นิราศภูเขาทอง","authors":"ศรีสุภัค เสมอวงษ์, พัชรินทร์ ส่วยสิน","doi":"10.60027/iarj.2024.276977","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276977","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โมชันกราฟิกเป็นการนำเอาเทคโนโลยี เสียงภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง ข้อความมารวมกัน ปรับแต่งด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์มาอย่างดี เพื่อตอบโจทย์ในจุดประสงค์ที่ต้องการสื่อสาร สามารถชักจูงนักเรียนมีความสนใจในตัวสื่อได้ดีกว่าสื่ออื่น ๆ ดังนั้นหากต้องการให้นักเรียนได้รับความรู้ความเข้าใจในเกี่ยวกับบทเรียนได้ดีจึงจำเป็นต้องสร้างสื่อโมชันกราฟิกเพื่อเผยแพร่ซึ่งจะทำให้เข้าใจได้ง่ายไม่เกิดความสับสนกับเนื้อหานอกจากนี้ยังช่วยให้สื่อมีความเข้าใจง่ายขึ้นเนื่องจากเป็นสื่อที่มีเทคนิคการนำเสนอที่น่าสนใจต่อนักเรียน ดังนั้นการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง นิราศภูเขาทอง (2) เพื่อประเมินคุณภาพสื่อสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง นิราศภูเขาทอง และ (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจความพึงพอใจที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง นิราศภูเขาทอง\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนโรงเรียนเชนต์แอนโทนี จำนวน 30 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ด้วยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\u0000ผลการศึกษา: (1) การสร้างสื่อโมชันกราฟิก โดยรวบรวมข้อมูลจากหนังสือและสื่อที่ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสร้างสื่อโมชันกราฟิก จากการศึกษาพบว่าสื่อโมชันกราฟิก ต้องทำให้ภาพเคลื่อนไหวดูแล้วเข้าใจง่ายในเวลารวดเร็วและชัดเจน สามารถสื่อให้ผู้ชมเข้าใจความหมายของข้อมูลทั้งหมดได้ และสามารถทำให้ผู้ชมได้รับข้อมูลจำนวนมากในเวลาอันสั้นได้ (2) ผลการประเมินคุณภาพการประเมินคุณภาพสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง นิราศภูเขาทองโดยภาพรวม มีผลประเมินอยู่ในระดับมาก (3) ความพึงพอใจที่มีต่อสื่อโมชันกราฟิก เรื่อง นิราศภูเขาทอง โดยภาพรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด\u0000สรุปผล: ผลการศึกษาพบว่าสื่อกราฟิกเคลื่อนไหวควรเน้นที่ความเร็วและความชัดเจนในการทำความเข้าใจ เพื่อถ่ายทอดข้อมูลจำนวนมากได้อย่างมีประสิทธิภาพในระยะเวลาอันสั้น นอกจากนี้ สื่อโมชั่นกราฟิกของนิราศภูเขาทองยังได้รับคะแนนสูงอย่างต่อเนื่องในด้านการประเมินและความพึงพอใจ ซึ่งยืนยันทั้งความสามารถและความพึงพอใจของผู้ชม","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 23","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141369998","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา
Interdisciplinary Academic and Research Journal Pub Date : 2024-06-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.277939
พวงเพชร ราษีสวย, ไพฑูรย์ วงศ์เวชวินิต
{"title":"ผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา","authors":"พวงเพชร ราษีสวย, ไพฑูรย์ วงศ์เวชวินิต","doi":"10.60027/iarj.2024.277939","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277939","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตแบบทวีคูณกำลังแพร่ระบาดให้กับคนไทยในปัจจุบัน และมีแนวโน้มแย่ลงเรื่อย ๆ อันเป็นผลมาจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคมเมืองร่วมสมัย โดยเฉพาะการบริโภคอาหารรสเค็ม น้ำตาล และอาหารมันเยิ้มที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดการเจ็บป่วยที่ตามมา เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ ตาบอดจากโรคเบาหวาน และไตวายเรื้อรัง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4อ (ยา 8 ขนาน)ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการจัดโปรแกรมรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) (One Group Pretest-Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดแบบจำลอง Precede-Procede Model ใช้เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป แบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 60 คน คัดเลือก ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) วิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังโปรแกรม ด้วยโดยใช้สถิติ Paired t-test\u0000ผลการวิจัย: ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ การรับรู้และพฤติกรรม เกี่ยวกับโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และมีภาวะความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 หลังเข้าร่วมกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม เป้าหมายมีภาวะความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 50 และระดับน้ำตาลในเลือดสะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปพัฒนาใช้ประโยชน์ในการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และสร้างเครือข่ายในการนำโปรแกรมไปใช้ในสถานบริการทุกระดับของจังหวัดนครราชสีมา เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้กระบวนการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการจัดบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพต่อไป","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141370408","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
相关产品
×
本文献相关产品
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信