การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม

นิเวศ เผื่อนทิม
{"title":"การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม","authors":"นิเวศ เผื่อนทิม","doi":"10.60027/iarj.2024.276821","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในระดับอุดมศึกษา ต้องให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและถอดบทเรียนจากการปฏิบัตินั้น ๆ โดยเฉพาะรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเป็นการฝึกผู้เรียนให้ได้เรียนรู้จากหลากหลายสถานที่ทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสามารถออกแบบชิ้นงานได้ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน 2)เพื่อเปรียบเทียบทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และ3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คนได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรมชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ศป 2106214 การออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แบบวัดทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน สถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหาค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ค่าเฉลี่ย และผลต่าง (D)\nผลการวิจัย: 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ และ 14 กิจกรรมย่อย มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาได้ค่า 4.61 มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มีค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.48/80.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2)ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีทักษะการออกแบบแฟชั่นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนผลต่าง (D) +4.82 และ 3) ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน อยู่ในระดับมากที่สุด\nสรุปผล: ผลจากการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) สามารถช่วยให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถออกแบบชิ้นงานที่หลากหลายอีกทั้งจากผลการสอบถามความพึงพอใจนักศึกษามีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"28 22","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276821","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในระดับอุดมศึกษา ต้องให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและถอดบทเรียนจากการปฏิบัตินั้น ๆ โดยเฉพาะรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเป็นการฝึกผู้เรียนให้ได้เรียนรู้จากหลากหลายสถานที่ทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสามารถออกแบบชิ้นงานได้ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน 2)เพื่อเปรียบเทียบทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และ3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คนได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรมชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ศป 2106214 การออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แบบวัดทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน สถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหาค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ค่าเฉลี่ย และผลต่าง (D) ผลการวิจัย: 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ และ 14 กิจกรรมย่อย มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาได้ค่า 4.61 มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มีค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.48/80.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2)ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีทักษะการออกแบบแฟชั่นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนผลต่าง (D) +4.82 และ 3) ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน อยู่ในระดับมากที่สุด สรุปผล: ผลจากการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) สามารถช่วยให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถออกแบบชิ้นงานที่หลากหลายอีกทั้งจากผลการสอบถามความพึงพอใจนักศึกษามีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การจัดกิจกรรมเชิงปฏบัติการในระดับุอดมศึกษา ต้องให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏบัติและถอดทบเรียนจากการปฏิบัตินั้น ๆ โดยเฉพาระายวิชาที่เี่ยวข้องกับารอกแบบฉﺎﺨﺷฉﺎﺨﺷฉﺎﺨﺷฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ ฉﺎﺨﺷ1)เพอือ พัฒนากจิกรมการเรียนรู้โดยใช้การรฝึกปฏิบัติเป็นฐาน2)เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอกแบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และ3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจองันกศึกษาที่มียอกจิกรรมอเทียบวิธีการวจั:ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คนได้มาจาการเลือกแบเจาะจง และนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรมชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2566 จำนวน 11 คน เครื่องืมอที่ใ้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะารอกแบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ศป 2106214 การอกแบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แบวัดทักษะการอกแบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แบวัดทักษะการอกแบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นและแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน สถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหาค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ค่าเฉลี่ย และผลต่าง (D)ผลการวิจัย:1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน ประกอบด้วย 4 เรียนรู้และ 14 กิจกรรมย่อย มีค่าควมเทียงตรงเชิงเนื้อหาได้ค่า 4.61 มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มีค่าประสิทธิภาพ (e1/e2) เท่ากับ 86.48/80.00 สมเซ่งเป็นฑ์ 80/80 2)ใภาพรวมันกศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีทักษะการอกแบแฟชั่นหาลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนผลต่าง (d) +4.82 และ 3) ใภาพรวมนักศึษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีความพึงอพใจต่อการจัดกิจกรรมกรเรียนรู้โดยใช้ากรฝึกปฏิบัติเป็นฐาน อยู่ในระดับามกที่สุดสรุปผล:基于实践的学习Based Learning) สามารถช่วยให้นักศึกษาสามารถสรค์ชิ้นงานและสามารถอกแบดิ้นงานที่วยใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信