การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ภัทราภรณ์ ภูจำปา, พรรณวิไล ดอกไม้
{"title":"การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6","authors":"ภัทราภรณ์ ภูจำปา, พรรณวิไล ดอกไม้","doi":"10.60027/iarj.2024.273283","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเข้าใจกระตุ้นเพื่อนำความสนใจทำให้ผู้เรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้ที่หลายหลายเข้าด้วยกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความคิดริเริ่มที่จะปรับปรุงแก้ไข สร้าง ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ให้ทนทาน หรือมีความแปลกใหม่ขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มที่ศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านยางน้อย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ ใช้ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน จำนวน 1 แผนการจัด การเรียนรู้ ทั้งหมด 14 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 4 ข้อ 4 ด้าน ที่มีค่าความเที่ยงตรง (IOC) เท่ากับ 0.60 - 1.00 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 – 0.77 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.70 สถิติที่ใช้ ได้แก่ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon Signed-rank Tests)\nผลการวิจัย: (1) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการประเมินคุณภาพกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า มีระดับเหมาะสมมากที่สุด  (2) นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\nสรุป: นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงงานที่เน้นเรื่องไฟฟ้าและบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนี้ หลังจากการมีส่วนร่วมในโครงการ นักเรียนได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยเน้นย้ำถึงประสิทธิผลของกลยุทธ์นี้ในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"16 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.273283","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเข้าใจกระตุ้นเพื่อนำความสนใจทำให้ผู้เรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้ที่หลายหลายเข้าด้วยกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความคิดริเริ่มที่จะปรับปรุงแก้ไข สร้าง ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ให้ทนทาน หรือมีความแปลกใหม่ขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มที่ศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านยางน้อย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ ใช้ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน จำนวน 1 แผนการจัด การเรียนรู้ ทั้งหมด 14 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 4 ข้อ 4 ด้าน ที่มีค่าความเที่ยงตรง (IOC) เท่ากับ 0.60 - 1.00 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 – 0.77 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.70 สถิติที่ใช้ ได้แก่ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon Signed-rank Tests) ผลการวิจัย: (1) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการประเมินคุณภาพกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า มีระดับเหมาะสมมากที่สุด  (2) นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุป: นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงงานที่เน้นเรื่องไฟฟ้าและบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนี้ หลังจากการมีส่วนร่วมในโครงการ นักเรียนได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยเน้นย้ำถึงประสิทธิผลของกลยุทธ์นี้ในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การพัฒนากจิกรรมากรเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมควาคมิดร้างสรค์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเข้าใจกระตุ้นเพื่อนำความสนใจทำให้ผู้เรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้ที่หลายหลายเข้าด้วยกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความคิดริเริ่มที่จะปรับปรุงแก้ไข สร้างอกแบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ให้ทนทาน หรือมีความแปลกใหม่ขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนากจิกรรมการเรียนรู้แบใช้โครงานเ็ปนฐาน เรื่อง ไฟฟาสำรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) เพือเปรียบเทียบความิคดร้างสรค์ของนักเรียน ก่อนและหางเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานระเบียบวิธีการวจัย:กลุ่มที่ศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านยางน้อย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ ใช้ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานจำนวน 1 แผนการจัด การเรียนรู้ ทั้งหมด 14 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดควมาคิดสร้างสรค์ เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 4 ข้อ 4 ด้าน ที่มีค่าควมเที่ยงตรง (ioc) เท่ากบั 0.60 - 1.00 ค่าอำนาจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 - 0.77 แะลค่าความเชอืมั่นเท่ากับ 0.70 สถิติที่ใช้ ได้แก่ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมุติฐานโดยใช้สถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon Signed-rank Tests)ผลการวิจัย:(1) การพัฒนากจิกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึษกาปีที่ 6 จากการประเมินคุณภาพกจิกรรมการรียนรู้ พบว่ามีระดับเหมาะสมากที่สุด (2) นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบใช้โครงงานเป็นฐาน มีความคิดสร้างสรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุป:นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประโยชน์จากจิกรรมการเรียนรู้ตามโครงงานที่เน้นเรื่องไฟáF้าและบรุลวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นอกจานียนรู้เด็กเด็กเดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน วัตถประสิทธิผลของกลยุทธ์น ียน เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน วัตถประสิทธิผลของกลยุทธ์น เดียน เดียน เดียน เดียน เดียน วัตถประสิทธิผลของกลยุทธ์น
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信