{"title":"การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม","authors":"นิเวศ เผื่อนทิม","doi":"10.60027/iarj.2024.276821","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในระดับอุดมศึกษา ต้องให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและถอดบทเรียนจากการปฏิบัตินั้น ๆ โดยเฉพาะรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเป็นการฝึกผู้เรียนให้ได้เรียนรู้จากหลากหลายสถานที่ทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสามารถออกแบบชิ้นงานได้ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน 2)เพื่อเปรียบเทียบทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และ3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คนได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรมชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ศป 2106214 การออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แบบวัดทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน สถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหาค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ค่าเฉลี่ย และผลต่าง (D)\nผลการวิจัย: 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ และ 14 กิจกรรมย่อย มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาได้ค่า 4.61 มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มีค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.48/80.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2)ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีทักษะการออกแบบแฟชั่นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนผลต่าง (D) +4.82 และ 3) ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน อยู่ในระดับมากที่สุด\nสรุปผล: ผลจากการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) สามารถช่วยให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถออกแบบชิ้นงานที่หลากหลายอีกทั้งจากผลการสอบถามความพึงพอใจนักศึกษามีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"28 22","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม\",\"authors\":\"นิเวศ เผื่อนทิม\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.276821\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในระดับอุดมศึกษา ต้องให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและถอดบทเรียนจากการปฏิบัตินั้น ๆ โดยเฉพาะรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเป็นการฝึกผู้เรียนให้ได้เรียนรู้จากหลากหลายสถานที่ทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสามารถออกแบบชิ้นงานได้ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน 2)เพื่อเปรียบเทียบทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และ3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้\\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คนได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรมชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ศป 2106214 การออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น แบบวัดทักษะการออกแบบแฟชั่นจากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน สถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหาค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ค่าเฉลี่ย และผลต่าง (D)\\nผลการวิจัย: 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ และ 14 กิจกรรมย่อย มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาได้ค่า 4.61 มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก มีค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.48/80.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2)ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีทักษะการออกแบบแฟชั่นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนผลต่าง (D) +4.82 และ 3) ในภาพรวมนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาศิลปกรรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน อยู่ในระดับมากที่สุด\\nสรุปผล: ผลจากการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การฝึกปฏิบัติเป็นฐาน (Practice-Based Learning) สามารถช่วยให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถออกแบบชิ้นงานที่หลากหลายอีกทั้งจากผลการสอบถามความพึงพอใจนักศึกษามีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\"28 22\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-07-02\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276821\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276821","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0