ผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา

พวงเพชร ราษีสวย, ไพฑูรย์ วงศ์เวชวินิต
{"title":"ผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา","authors":"พวงเพชร ราษีสวย, ไพฑูรย์ วงศ์เวชวินิต","doi":"10.60027/iarj.2024.277939","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตแบบทวีคูณกำลังแพร่ระบาดให้กับคนไทยในปัจจุบัน และมีแนวโน้มแย่ลงเรื่อย ๆ อันเป็นผลมาจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคมเมืองร่วมสมัย โดยเฉพาะการบริโภคอาหารรสเค็ม น้ำตาล และอาหารมันเยิ้มที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดการเจ็บป่วยที่ตามมา เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ ตาบอดจากโรคเบาหวาน และไตวายเรื้อรัง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4อ (ยา 8 ขนาน)ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการจัดโปรแกรมรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) (One Group Pretest-Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดแบบจำลอง Precede-Procede Model ใช้เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป แบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 60 คน คัดเลือก ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) วิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังโปรแกรม ด้วยโดยใช้สถิติ Paired t-test\nผลการวิจัย: ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ การรับรู้และพฤติกรรม เกี่ยวกับโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และมีภาวะความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 หลังเข้าร่วมกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม เป้าหมายมีภาวะความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 50 และระดับน้ำตาลในเลือดสะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80\nสรุปผล: ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปพัฒนาใช้ประโยชน์ในการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และสร้างเครือข่ายในการนำโปรแกรมไปใช้ในสถานบริการทุกระดับของจังหวัดนครราชสีมา เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้กระบวนการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการจัดบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพต่อไป","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-06-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277939","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตแบบทวีคูณกำลังแพร่ระบาดให้กับคนไทยในปัจจุบัน และมีแนวโน้มแย่ลงเรื่อย ๆ อันเป็นผลมาจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคมเมืองร่วมสมัย โดยเฉพาะการบริโภคอาหารรสเค็ม น้ำตาล และอาหารมันเยิ้มที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดการเจ็บป่วยที่ตามมา เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ ตาบอดจากโรคเบาหวาน และไตวายเรื้อรัง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4อ (ยา 8 ขนาน)ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการจัดโปรแกรมรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) (One Group Pretest-Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดแบบจำลอง Precede-Procede Model ใช้เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป แบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 60 คน คัดเลือก ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) วิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังโปรแกรม ด้วยโดยใช้สถิติ Paired t-test ผลการวิจัย: ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ การรับรู้และพฤติกรรม เกี่ยวกับโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และมีภาวะความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 หลังเข้าร่วมกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม เป้าหมายมีภาวะความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 50 และระดับน้ำตาลในเลือดสะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 สรุปผล: ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปพัฒนาใช้ประโยชน์ในการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และสร้างเครือข่ายในการนำโปรแกรมไปใช้ในสถานบริการทุกระดับของจังหวัดนครราชสีมา เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้กระบวนการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการจัดบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพต่อไป
ผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:โรคที่เกิดจาการใช้ชีวิตแบบทวีคูณกำลังแพร่ระบาดให้กับคนไทยในปัจจจุบัน และมีแนวโน้มแย่ลงเรื่อย ๆ อันเป็นผลมาจากวิถีชีวิตที่เลปี่ยนแปลงไปของสังคมเมออืงร่วมสมัยโดยเฉพาะการบริโภคอาหารสเคอม น้ำตาหารมันเยิ้มที่เพิ่มากขึ้น ทำให้เกิดการเจ็บปว่ยที่ตามมา เช่นโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ ตาบอดจากโรคเบาหวาน และไตวายเรื้อรัง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก4อ (ยา 8 ขนาน)ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมาระเบียบวิธีการวิจัย:การวัยครัยเชิงการวจัยเชิงกึ่งทดลองแบกลุ่มเดียวัยเชิงการวจัยเชิงกึ่งทดลองแบกลุ่มเสียงแบารวจัยครัยเชิงการวจัย 4 อ (ยา 8 ขนาน) (One Group Pretest-Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรมสุขภาพในการป้องกันโรเบาหวานและโรความดันโหิตสูง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นดโยใช้แนวคิดแบจำอลง Precede-Procede Model เE43↩ช้เครื่องมอืการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวจัยเป็นประชากรกลุ่มเสียงด้วยโรคเบาวหานและความดันโหลิตสูง ที่มีอายุ35 ปีขอยนไป แบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 60 คน คัดเลือก ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) วิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนนเฉหางโปรแกรม ด้วยโดยใช้สถิติ Paired t-test ผลการวิจัย:ผลากรศึกษา พบว่า ค่าเลี่ยคะแนนความรู้ การรับรู้และพฤติกรรม เกี่ยวกับโรคเบาหวาน และโรคคความดัน เมษาน เมษาน ทดลองสูงกว่าก่อน การทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 เด็กเด็กมียวะความดันโหาติและระดับน้ำตาลในเลือดลดง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระัดบ .05 มตังเข้าร่วมกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรมกลุ่ม เป้ารมายมีภาวะความดันโลหิตสูง 50 แลระดันบ้ำตาลในเลือดสะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80สรุปผล:ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปพัฒนาใช้ประโยชน์ในการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และสร้างเครือข่ายในการนำโปรแกรมไปใช้ในสถานบริการทุกระดับของจังหวัดนครราชสีมาเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานและความดันโหลิตสูง ของจังหวัดนคราชสีมา โดยใช้กระบวนการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการจัดบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพต่อไป
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信