{"title":"ผลของการสะท้อนคิดจากการฝึกจริยธรรมต่อการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครู","authors":"จักรพงษ์ นิลพงษ์","doi":"10.60027/iarj.2024.276639","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เป็นความท้าทายสำคัญของสถาบันผลิตครู โดยเฉพาะการเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพและคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักศึกษาครู งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาผลของกระบวนการสะท้อนคิดจากการฝึกจริยธรรมที่มีต่อการส่งเสริมประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครู เพื่อสังเคราะห์แก่นสาระสำคัญที่สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างการฝึกจริยธรรม กระบวนการสะท้อนคิด และการพัฒนาตนเองในมิติของความเป็นครู\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้เก็บข้อมูลจากแบบบันทึกผลการสะท้อนคิดออนไลน์ กับนักศึกษาครูที่เข้าร่วมอบรมหลักสูตรจริยธรรมที่เน้นการปฏิบัติธรรมและการสะท้อนคิด จำนวน 87 คน จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์แก่นสาระ (Thematic Analysis) เพื่อค้นหาประเด็นสำคัญที่สะท้อนผลของการฝึกจริยธรรมร่วมกับการสะท้อนคิดที่มีต่อการพัฒนาตนเองเพื่อส่งเสริมความเป็นครูมืออาชีพ\nผลการวิจัย: ผลการวิเคราะห์พบแก่นสาระสำคัญ 5 ประเด็น คือ 1) การตรงต่อเวลาส่งเสริมความรับผิดชอบและวินัยในตน 2) การสำรวมกาย วาจา ใจ เป็นพื้นฐานของความเป็นครู 3) การสวดมนต์ ทำสมาธิ และตักบาตร ทำบุญ ช่วยให้จิตใจสงบ มีสติ และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 4) การสังเกตอาการเผลอคิดทำให้เข้าใจตนเอง มีสติ และตั้งใจกับปัจจุบัน ซึ่งมีประโยชน์ต่อการสอนและพัฒนาตนเอง 5) การวิเคราะห์ขั้นตอนการปฏิบัติธรรมทำให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของการปฏิบัติธรรมในการพัฒนาจิตใจและทักษะการสอน ทั้ง 5 แก่นสาระสะท้อนความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างการฝึกจริยธรรม การสะท้อนคิด และการพัฒนาตนเองในมิติจิตใจ ความคิด และพฤติกรรมการสอน อันจะนำไปสู่ความเป็นครูมืออาชีพ\nสรุปผล: การฝึกจริยธรรมที่เน้นการสะท้อนคิดเพื่อปรับปรุงการฝึกวิชาชีพเป็นกระบวนการสำคัญในการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21 ซึ่งจำเป็นต้องพัฒนาครูทั้งในมิติของความรู้ ทักษะ และจริยธรรมไปพร้อม ๆ กัน อันจะนำไปสู่การสร้างครูคุณภาพที่พร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"7 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276639","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลของการสะท้อนคิดจากการฝึกจริยธรรมต่อการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครู
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เป็นความท้าทายสำคัญของสถาบันผลิตครู โดยเฉพาะการเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพและคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักศึกษาครูงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาผลของกระบวนการสะท้อนคิดาจการฝึกจริยธรรมที่มีต่อการส่งเสริมประสบการณ์วิชาชีพของันกศึกษาครูเพอือสังเคราะห์แก่นสาระสำคัญที่สะท้นความสัมพันธ์ระหว่างกราฝึจริยธรรม กระบวนการสะท้อนคิด และการพัฒนตานเองในมิติของความเป็นครูะเบียบวิธีการวิจัย:การวิจัยเชิงคุณภาพนี้เก็บขอมูลจากแบบันทึผลารสะท้อนคิดอน กันบักศึกษาครูที่เข้าร่วอมบรมยธรรมที่เนี้นการรปฏิบัติชนเE18↩รมและการสะท้อนคิด จำนวน 87 คน5 ประเด็น คือ 1) การตรงต่อเวลาสงเสริมความรับผิดชอบและวินัยในตน 2) การสำรวมกาย วาจา ใจ เปน็พื้นฐานของความเป็นคูร 3)การสวดมนต์ ทำสมาธิ และตักบาตร ทำบุญ ช่วยให้จิตใจสงบ มีสติ และเอื้อเฟือเผื่อแผ่ 4) การสังเกตอาการเผลอคิดทำให้เข้าใจตนเอง มีสติ และตั้งใจกับปัจุบัน5) การวิเคราหะ์ขั้นตัยปฏิบัติธรรมทำให้เข้าใและทักษะารสอน ทั้ง 5แลานสาระสะท้อนความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างการฝกจริยธรรม การสะท้อนคิด แลาการพัฒนาเยีพสรุปผ:การึกจริยธรรมที่เนน้นการสะท้นคอิดเพอื่อปรับปรุงการรมทีพเป็นระบวนการสำคัญในการัพฒนาประสบารณ์วิชชาีพครูในศตวรษที 21เป็นต้องพัฒนาครูทั้งในมิติของควารมู้ ทักษะ และจริยธรรมไปพร้อม ๆ กัน อันจะนำไปสู่การสร้างครูคุณภาพที่พร้อมขับเคอืนการพัฒนาที่ยั่งยน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。