{"title":"ผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา","authors":"พวงเพชร ราษีสวย, ไพฑูรย์ วงศ์เวชวินิต","doi":"10.60027/iarj.2024.277939","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตแบบทวีคูณกำลังแพร่ระบาดให้กับคนไทยในปัจจุบัน และมีแนวโน้มแย่ลงเรื่อย ๆ อันเป็นผลมาจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคมเมืองร่วมสมัย โดยเฉพาะการบริโภคอาหารรสเค็ม น้ำตาล และอาหารมันเยิ้มที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดการเจ็บป่วยที่ตามมา เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ ตาบอดจากโรคเบาหวาน และไตวายเรื้อรัง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4อ (ยา 8 ขนาน)ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการจัดโปรแกรมรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) (One Group Pretest-Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดแบบจำลอง Precede-Procede Model ใช้เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป แบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 60 คน คัดเลือก ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) วิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังโปรแกรม ด้วยโดยใช้สถิติ Paired t-test\nผลการวิจัย: ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ การรับรู้และพฤติกรรม เกี่ยวกับโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และมีภาวะความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 หลังเข้าร่วมกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม เป้าหมายมีภาวะความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 50 และระดับน้ำตาลในเลือดสะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80\nสรุปผล: ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปพัฒนาใช้ประโยชน์ในการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และสร้างเครือข่ายในการนำโปรแกรมไปใช้ในสถานบริการทุกระดับของจังหวัดนครราชสีมา เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้กระบวนการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการจัดบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพต่อไป","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-06-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา\",\"authors\":\"พวงเพชร ราษีสวย, ไพฑูรย์ วงศ์เวชวินิต\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.277939\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตแบบทวีคูณกำลังแพร่ระบาดให้กับคนไทยในปัจจุบัน และมีแนวโน้มแย่ลงเรื่อย ๆ อันเป็นผลมาจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคมเมืองร่วมสมัย โดยเฉพาะการบริโภคอาหารรสเค็ม น้ำตาล และอาหารมันเยิ้มที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดการเจ็บป่วยที่ตามมา เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ ตาบอดจากโรคเบาหวาน และไตวายเรื้อรัง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4อ (ยา 8 ขนาน)ตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา\\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการจัดโปรแกรมรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 4 อ (ยา 8 ขนาน) (One Group Pretest-Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยใช้แนวคิดแบบจำลอง Precede-Procede Model ใช้เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป แบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 60 คน คัดเลือก ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) วิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังโปรแกรม ด้วยโดยใช้สถิติ Paired t-test\\nผลการวิจัย: ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ การรับรู้และพฤติกรรม เกี่ยวกับโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และมีภาวะความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 หลังเข้าร่วมกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม เป้าหมายมีภาวะความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 50 และระดับน้ำตาลในเลือดสะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80\\nสรุปผล: ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปพัฒนาใช้ประโยชน์ในการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และสร้างเครือข่ายในการนำโปรแกรมไปใช้ในสถานบริการทุกระดับของจังหวัดนครราชสีมา เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของจังหวัดนครราชสีมา โดยใช้กระบวนการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการจัดบริการเชิงรุกให้มีคุณภาพต่อไป\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\" 3\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-06-08\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277939\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277939","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0