{"title":"การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6","authors":"ภัทราภรณ์ ภูจำปา, พรรณวิไล ดอกไม้","doi":"10.60027/iarj.2024.273283","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเข้าใจกระตุ้นเพื่อนำความสนใจทำให้ผู้เรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้ที่หลายหลายเข้าด้วยกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความคิดริเริ่มที่จะปรับปรุงแก้ไข สร้าง ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ให้ทนทาน หรือมีความแปลกใหม่ขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มที่ศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านยางน้อย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ ใช้ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน จำนวน 1 แผนการจัด การเรียนรู้ ทั้งหมด 14 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 4 ข้อ 4 ด้าน ที่มีค่าความเที่ยงตรง (IOC) เท่ากับ 0.60 - 1.00 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 – 0.77 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.70 สถิติที่ใช้ ได้แก่ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon Signed-rank Tests)\nผลการวิจัย: (1) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการประเมินคุณภาพกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า มีระดับเหมาะสมมากที่สุด (2) นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\nสรุป: นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงงานที่เน้นเรื่องไฟฟ้าและบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนี้ หลังจากการมีส่วนร่วมในโครงการ นักเรียนได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยเน้นย้ำถึงประสิทธิผลของกลยุทธ์นี้ในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"16 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6\",\"authors\":\"ภัทราภรณ์ ภูจำปา, พรรณวิไล ดอกไม้\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.273283\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเข้าใจกระตุ้นเพื่อนำความสนใจทำให้ผู้เรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้ที่หลายหลายเข้าด้วยกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความคิดริเริ่มที่จะปรับปรุงแก้ไข สร้าง ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ให้ทนทาน หรือมีความแปลกใหม่ขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน\\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มที่ศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านยางน้อย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ ใช้ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน จำนวน 1 แผนการจัด การเรียนรู้ ทั้งหมด 14 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 4 ข้อ 4 ด้าน ที่มีค่าความเที่ยงตรง (IOC) เท่ากับ 0.60 - 1.00 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 – 0.77 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.70 สถิติที่ใช้ ได้แก่ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon Signed-rank Tests)\\nผลการวิจัย: (1) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้า สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากการประเมินคุณภาพกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า มีระดับเหมาะสมมากที่สุด (2) นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน มีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\\nสรุป: นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงงานที่เน้นเรื่องไฟฟ้าและบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนี้ หลังจากการมีส่วนร่วมในโครงการ นักเรียนได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยเน้นย้ำถึงประสิทธิผลของกลยุทธ์นี้ในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\"16 3\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-07-02\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.273283\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.273283","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0