การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครราชสีมา

กรกต วัดเข้าหลาม, ลักขณา สริวัฒน์
{"title":"การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครราชสีมา","authors":"กรกต วัดเข้าหลาม, ลักขณา สริวัฒน์","doi":"10.60027/iarj.2024.276760","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ความรู้เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะตัว เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่มีโดยไม่จำกัด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น ยิ่งบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มากเท่าใด ก็ยิ่งสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้มากขึ้นขึ้นอีก และยังสามารถนำเอาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการจัดการความรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา และ (2) พัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา\nระเบียบวิธีการวิจัย: การดำเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น การจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 92 คน และครูผู้สอน จำนวน 249 คน ได้มาโดยเปิดตารางของ Krejcie and Morgan (1970)แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแต่ละโรงเรียนแบ่งตามขนาดโรงเรียน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ได้จำนวน 341 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และวิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 4 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา\nผลการวิจัย: (1) สภาพปัจจุบันการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ด้านการนำความสู่การปฏิบัติ ด้านการสร้างและแสวงหาความรู้ ด้านการประมวลและกลั่นกรองความรู้ด้านการบ่งชี้ความรู้ และด้านการจัดความรู้ให้เป็นระบบ (2) แนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยวิธีการตามวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) มีการดำเนินการ 6 ขั้นตอน 30 แนวทาง ได้แก่ ขั้นตอนการบ่งชี้ความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการสร้างและแสวงหาความรู้ 5 แนวทางขั้นตอนการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 5 แนวทาง ขั้นตอนการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5 แนวทางและขั้นตอนการน าความสู่การปฏิบัติ 5 แนวทาง ทั้ง 6 ขั้นตอนดำเนินการตามกระบวนการของวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) ได้ดังนี้ (P) Plan คือการวางแผนร่วมกันของผู้บริหารและครูผู้สอนในการจัดการความรู้ (D) Do คือการดำเนินการจัดการความรู้ของสถานศึกษาด้วยวิธีการต่าง ๆ (C) Check ผู้บริหารสถานศึกษา มีการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานของครูทุกท่าน และ (A) Act คือมีการตรวจสอบเก็บรวบรวมสารสนเทศ และสะท้อนผลย้อนกลับสู่ผู้ที่สนใจ โดยผลการประเมินความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก\nสรุปผล: สถานภาพการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมาอยู่ในระดับปานกลาง แต่มีเงื่อนไขในอุดมคติอยู่ในระดับสูงที่สุด เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการปรับปรุงการสร้างองค์ความรู้ การประยุกต์ การแบ่งปัน และการจัดระบบ นอกจากนี้ แนวทางการจัดการความรู้ที่นำไปใช้ในหกขั้นตอนเชิงกลยุทธ์โดยใช้วงจรเดมิง (PDCA) แสดงให้เห็นถึงความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในระดับสูง โดยเน้นย้ำถึงประสิทธิภาพที่เป็นไปได้ของแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างแนวทางปฏิบัติการจัดการความรู้ในบริบทของการศึกษา","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"42 9","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครราชสีมา\",\"authors\":\"กรกต วัดเข้าหลาม, ลักขณา สริวัฒน์\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.276760\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ความรู้เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะตัว เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่มีโดยไม่จำกัด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น ยิ่งบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มากเท่าใด ก็ยิ่งสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้มากขึ้นขึ้นอีก และยังสามารถนำเอาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการจัดการความรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา และ (2) พัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา\\nระเบียบวิธีการวิจัย: การดำเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น การจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 92 คน และครูผู้สอน จำนวน 249 คน ได้มาโดยเปิดตารางของ Krejcie and Morgan (1970)แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแต่ละโรงเรียนแบ่งตามขนาดโรงเรียน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ได้จำนวน 341 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และวิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 4 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา\\nผลการวิจัย: (1) สภาพปัจจุบันการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ด้านการนำความสู่การปฏิบัติ ด้านการสร้างและแสวงหาความรู้ ด้านการประมวลและกลั่นกรองความรู้ด้านการบ่งชี้ความรู้ และด้านการจัดความรู้ให้เป็นระบบ (2) แนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยวิธีการตามวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) มีการดำเนินการ 6 ขั้นตอน 30 แนวทาง ได้แก่ ขั้นตอนการบ่งชี้ความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการสร้างและแสวงหาความรู้ 5 แนวทางขั้นตอนการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 5 แนวทาง ขั้นตอนการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5 แนวทางและขั้นตอนการน าความสู่การปฏิบัติ 5 แนวทาง ทั้ง 6 ขั้นตอนดำเนินการตามกระบวนการของวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) ได้ดังนี้ (P) Plan คือการวางแผนร่วมกันของผู้บริหารและครูผู้สอนในการจัดการความรู้ (D) Do คือการดำเนินการจัดการความรู้ของสถานศึกษาด้วยวิธีการต่าง ๆ (C) Check ผู้บริหารสถานศึกษา มีการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานของครูทุกท่าน และ (A) Act คือมีการตรวจสอบเก็บรวบรวมสารสนเทศ และสะท้อนผลย้อนกลับสู่ผู้ที่สนใจ โดยผลการประเมินความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก\\nสรุปผล: สถานภาพการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมาอยู่ในระดับปานกลาง แต่มีเงื่อนไขในอุดมคติอยู่ในระดับสูงที่สุด เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการปรับปรุงการสร้างองค์ความรู้ การประยุกต์ การแบ่งปัน และการจัดระบบ นอกจากนี้ แนวทางการจัดการความรู้ที่นำไปใช้ในหกขั้นตอนเชิงกลยุทธ์โดยใช้วงจรเดมิง (PDCA) แสดงให้เห็นถึงความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในระดับสูง โดยเน้นย้ำถึงประสิทธิภาพที่เป็นไปได้ของแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างแนวทางปฏิบัติการจัดการความรู้ในบริบทของการศึกษา\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\"42 9\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-07-02\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276760\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276760","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ความรู้เป็นเครือย่างหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะตัว เนือจากความรู้เป็นสิ่งที่มีโดยไมจ่ำกัดยิ่งใช้ยิ่งเพิ่มยิ่งใช้มากยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น ยิ่งบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มากเท่าใด ก็ยิ่งสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้มากขึ้นขึ้นอีก และยังสามารถนำเอาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการจัดการความรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมาและ (2) พัฒนาแนวาทงการจัดการควารมู้ อขงสถานศกึษาสังกัดสำนังกาเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาคนราชสีมาระเบียบวิธีการวจั:การดำเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น การจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมากลุ่มตัวอย่างเป็นผูบริหารสถานศึกษ จานวำน 92 คน และครูผู้สอน จำนวน 249 คน ได้มาโดยเปิดตารางของ Krejcie and Morgan(1970)แล้วใช้วิธีการสุ่มแบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแลต่ะโรงเรียน แบ่งตามขนาดโรงเรียน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย(简单随机抽样) 341 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และวิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐาน ระยะที่ 2การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานคราชสีมาคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 4 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย:(1) สาภพปัจจุบันารจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้นที่การศึกษามัธยมศึกษานคราชสีมา โดยรวมอยู่ในระดับปนากลาง สาภพที่พประสงค์โดยรวมยู่ในระดับากที่สุด และลำดับความต้องการจำเป็นจากากไปหานี้ ด้านกาและลี่ยนความรู่การปฏิบัติ ด้านการสร้าและสวงหาความรู้งด้านการประมวและกลั่นกรองความรูด้านการบ่งชี้ความรู้ และด้านการจัดความรู้ให้เปน็ระบบ (2)แนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนกังานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษานรราชสีมาโดยวิธีการตามวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (pdca) มีการดำเนินการ 6 ขั้นตอน 30 แนวทาง ได้แก่ ขั้นตอนการบ่งชี้ความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการสร้าง และแสวงหาคาวมรู้ 5แนวทางขั้นตอนการจัดการความรู้ใหเป็นระบ 5 แนวทาง ขั้นตอนการมรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการประมวและกลั่นกรองความรู้น 5 แนวทาง และขั้นตอนการน6 ขันตอนดำเนินการตามกระบวนการของวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (P) Plan คอืการวางแผนร่วมกันของผู้บริหารและครูผู้อสนในการจัดการความรู้น (D) Do(D) Do คือการดำเนินการจัดการความรู้ของสถานศึกษาด้วยวิธีการต่าง ๆ (C) Check ผู้บริหารสถานศึกษา มีการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานของครูทุกท่าน และ (A) Act คือมีการตรวจสอบเก็บรวบรวมสารสนเทศและสะท้อนผลย้อนกลับสู่ผู้ที่สนใจ โดยผลการประเมินความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมากสรุปผล:สถานภาพการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึษานคราชสีมาอยู่ในระดับสูงที่สุดเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการปรับปรุงการสร้างองค์ความรู้ การประยุกต์ การแบ่งปัน และการจัดระบบ นอกจากนี้แนวาทงการจัดการความรู้ที่นำไปใช้ในหกขั้นตอนเชิงกลยุทธ์โดยใช้วงจรเดมิง (pdca) แสดงใหเ็นถึงความเหมาะสมและความเป็นในระดับสูงโดยเน้นย้ำถึงประสิทธภาพที่เป็นไป้ำฏบัติในการเสิทางปฏบัติการจัดการรามรู้ในบริทของการศึษาก
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครราชสีมา
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ความรู้เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะตัว เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่มีโดยไม่จำกัด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น ยิ่งบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มากเท่าใด ก็ยิ่งสามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้มากขึ้นขึ้นอีก และยังสามารถนำเอาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการจัดการความรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา และ (2) พัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา ระเบียบวิธีการวิจัย: การดำเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็น การจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 92 คน และครูผู้สอน จำนวน 249 คน ได้มาโดยเปิดตารางของ Krejcie and Morgan (1970)แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแต่ละโรงเรียนแบ่งตามขนาดโรงเรียน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ได้จำนวน 341 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และวิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 4 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย: (1) สภาพปัจจุบันการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ด้านการนำความสู่การปฏิบัติ ด้านการสร้างและแสวงหาความรู้ ด้านการประมวลและกลั่นกรองความรู้ด้านการบ่งชี้ความรู้ และด้านการจัดความรู้ให้เป็นระบบ (2) แนวทางการจัดการความรู้ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา โดยวิธีการตามวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) มีการดำเนินการ 6 ขั้นตอน 30 แนวทาง ได้แก่ ขั้นตอนการบ่งชี้ความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการสร้างและแสวงหาความรู้ 5 แนวทางขั้นตอนการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 5 แนวทาง ขั้นตอนการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 5 แนวทาง ขั้นตอนการประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5 แนวทางและขั้นตอนการน าความสู่การปฏิบัติ 5 แนวทาง ทั้ง 6 ขั้นตอนดำเนินการตามกระบวนการของวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) ได้ดังนี้ (P) Plan คือการวางแผนร่วมกันของผู้บริหารและครูผู้สอนในการจัดการความรู้ (D) Do คือการดำเนินการจัดการความรู้ของสถานศึกษาด้วยวิธีการต่าง ๆ (C) Check ผู้บริหารสถานศึกษา มีการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานของครูทุกท่าน และ (A) Act คือมีการตรวจสอบเก็บรวบรวมสารสนเทศ และสะท้อนผลย้อนกลับสู่ผู้ที่สนใจ โดยผลการประเมินความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก และผลการประเมินความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก สรุปผล: สถานภาพการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมาอยู่ในระดับปานกลาง แต่มีเงื่อนไขในอุดมคติอยู่ในระดับสูงที่สุด เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการปรับปรุงการสร้างองค์ความรู้ การประยุกต์ การแบ่งปัน และการจัดระบบ นอกจากนี้ แนวทางการจัดการความรู้ที่นำไปใช้ในหกขั้นตอนเชิงกลยุทธ์โดยใช้วงจรเดมิง (PDCA) แสดงให้เห็นถึงความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในระดับสูง โดยเน้นย้ำถึงประสิทธิภาพที่เป็นไปได้ของแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างแนวทางปฏิบัติการจัดการความรู้ในบริบทของการศึกษา
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信