ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีและผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร

สุนิสา ภู่สงค์, ดวงกมล ชัยศรีษะ, จุฑาธิป จันทร์ทรง
{"title":"ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีและผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร","authors":"สุนิสา ภู่สงค์, ดวงกมล ชัยศรีษะ, จุฑาธิป จันทร์ทรง","doi":"10.60027/iarj.2024.276718","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นธุรกิจที่มีความสำคัญในฐานะกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ที่มาจากฐานรากหรือประชาชนคนทั่วไปประกอบธุรกิจ ซึ่งการดำเนินธุรกิจให้สามารถเกิดประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จได้นั้น ผู้ประกอบการจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีที่มีคุณภาพเพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนในการดำเนินงานให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้กำหนดไว้ ดังนั้นในการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีกับผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้บริหารธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จำนวน 400 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ\nผลการวิจัย: 1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพข้อมูลทางการบัญชี โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด ตามลำดับ 2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านลูกค้า มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด 3) ผลการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์เพียรสันของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม โดยภาพรวมคุณภาพของข้อมูลทางการบัญชี อยู่ในระดับความสัมพันธ์สูง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ r=0.896 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และผลการทดสอบความสัมพันธ์ของสัมประสิทธิ์การถดถอยเชิงพหุ พบว่า ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ด้านความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ด้านความสามารถเปรียบเทียบได้ ด้านความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของธรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05\nสรุปผล: คุณภาพข้อมูลทางการบัญชีมีความสัมพันธ์และผลกระทบต่อผลการดำเนินธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานของผู้บริหารต้องเจอกับปัญหาต่างๆ จึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีมาช่วยในการบริหารงาน โดยเฉพาะความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ความสามารถเปรียบเทียบได้ และความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ เพื่อให้ผู้บริหารได้นำข้อมูลในการพยากรณ์หรือวางแผนการดำเนินงานให้ได้มาซึ่งผลการดำเนินงานที่ดีในการพัฒนาและปรับปรุงองค์กร","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"34 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีและผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร\",\"authors\":\"สุนิสา ภู่สงค์, ดวงกมล ชัยศรีษะ, จุฑาธิป จันทร์ทรง\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.276718\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นธุรกิจที่มีความสำคัญในฐานะกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ที่มาจากฐานรากหรือประชาชนคนทั่วไปประกอบธุรกิจ ซึ่งการดำเนินธุรกิจให้สามารถเกิดประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จได้นั้น ผู้ประกอบการจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีที่มีคุณภาพเพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนในการดำเนินงานให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้กำหนดไว้ ดังนั้นในการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีกับผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร\\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้บริหารธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จำนวน 400 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ\\nผลการวิจัย: 1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพข้อมูลทางการบัญชี โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด ตามลำดับ 2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านลูกค้า มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด 3) ผลการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์เพียรสันของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม โดยภาพรวมคุณภาพของข้อมูลทางการบัญชี อยู่ในระดับความสัมพันธ์สูง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ r=0.896 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และผลการทดสอบความสัมพันธ์ของสัมประสิทธิ์การถดถอยเชิงพหุ พบว่า ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ด้านความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ด้านความสามารถเปรียบเทียบได้ ด้านความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของธรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05\\nสรุปผล: คุณภาพข้อมูลทางการบัญชีมีความสัมพันธ์และผลกระทบต่อผลการดำเนินธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานของผู้บริหารต้องเจอกับปัญหาต่างๆ จึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีมาช่วยในการบริหารงาน โดยเฉพาะความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ความสามารถเปรียบเทียบได้ และความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ เพื่อให้ผู้บริหารได้นำข้อมูลในการพยากรณ์หรือวางแผนการดำเนินงานให้ได้มาซึ่งผลการดำเนินงานที่ดีในการพัฒนาและปรับปรุงองค์กร\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\"34 1\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-07-02\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276718\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276718","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ธุรกจนาดกลางแลกจนาดย่อมเป็นธุรกจที่ีมความสำคัญในฐานกลาไกขับเคลือนเศรษฐกจของประเท↪LoE28↩ที่มาจากฐานรากหรือประชาชนคนทั่วไปประกอบธุรกิจ ซึ่งการดำเนินธุรกิจให้สามารถเกดิประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จได้นันผู้ประกอบการจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีที่มีคุณภาเพื่อเป็นเครืองมือสับสนุนในการดำเินงานให้สามารถบรรุวัตถุประสงค์ตามที่ได้กำหนดไว้าดังนั้นในการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพือ 1)เพือศึษาระดับความคิดเห็นคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของธรุรงกิจขนาดกลางและขนาด่อในเตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึษาระดับควาคมิดเห็นผลการดำเนินงานของธุรกจิขนาดกลางและขนาด่อบ3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีกับผลารดำเนินงานของธรุกิจนาดกลางแในเขตกรุงเทพมหานคระเบียบวิธีการวจัย:กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้บริหารธุรกิจขนาดลกางและขนาด่ยอม ในเตกรุเทพมหานครโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จำนวน 400 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมานเดียยรสัน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์หสัมพันธ์เพียรสัน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณผลการวิจัย:1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพข้อมูลทางการบัญชี โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านควาเมกี่ยวข้องกับการตัดสินใจมีระดับความคิดเห็นมากที่สุด ตามลดำบั 2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน โดยรรวมอยู่ในระดับากมีระดับควาคมิดเ็นมากที่สุด 3) ผลการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สมัพันธ์เพียรสันขงอตัวแปรอิสระและตัวแปรตามโดยภาพรวมคุณภาพของข้อมูลทางการบัญชี อยู่ในระดับความสัมพันธ์สูง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสมัพันธ์ r=0.896 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และผลการทดสอบความสัมพันธ์ของสัมประสิทธิ์การถดถอยเชิงพหุ พบว่า ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ด้านควาเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ด้านความสามารถเปรียบทียบได้ด้านความสามารรถพิสูจน์ยืนยันได้ มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของธรกจขนาดกลางและขนาด่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05สรุปผล:คุณภาพข้อมูลทางการบัญชีมีความสัมพันธ์และผลกระทบต่อผลการดำเนินธุรกจิขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานครในการดำเนินงานของผู้บริหารต้องญหาต่างๆ จึงจำเป็ต้องอาศัยข้อมลทางการบัญชีมาช่วยในการบริหารงนโดยเฉพาะควาเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ความสามารถเปรียบเทียบได้และความสามารถพิสูจน์ยนยันได้เด็กเด็จน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีและผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นธุรกิจที่มีความสำคัญในฐานะกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ที่มาจากฐานรากหรือประชาชนคนทั่วไปประกอบธุรกิจ ซึ่งการดำเนินธุรกิจให้สามารถเกิดประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จได้นั้น ผู้ประกอบการจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีที่มีคุณภาพเพื่อเป็นเครื่องมือสนับสนุนในการดำเนินงานให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้กำหนดไว้ ดังนั้นในการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีกับผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้บริหารธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ จำนวน 400 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัย: 1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพข้อมูลทางการบัญชี โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด ตามลำดับ 2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านลูกค้า มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด 3) ผลการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์เพียรสันของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม โดยภาพรวมคุณภาพของข้อมูลทางการบัญชี อยู่ในระดับความสัมพันธ์สูง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ r=0.896 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และผลการทดสอบความสัมพันธ์ของสัมประสิทธิ์การถดถอยเชิงพหุ พบว่า ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ด้านความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ด้านความสามารถเปรียบเทียบได้ ด้านความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของธรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปผล: คุณภาพข้อมูลทางการบัญชีมีความสัมพันธ์และผลกระทบต่อผลการดำเนินธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร ในการดำเนินงานของผู้บริหารต้องเจอกับปัญหาต่างๆ จึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลทางการบัญชีมาช่วยในการบริหารงาน โดยเฉพาะความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ความสามารถเปรียบเทียบได้ และความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ เพื่อให้ผู้บริหารได้นำข้อมูลในการพยากรณ์หรือวางแผนการดำเนินงานให้ได้มาซึ่งผลการดำเนินงานที่ดีในการพัฒนาและปรับปรุงองค์กร
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信