Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)最新文献

筛选
英文 中文
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอย่างไร? การวางผังพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศ 农业大学和绿色大学有什么关系?促进生态服务的绿色空间规划
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2021-02-19 DOI: 10.56261/jars.v18i2.243882
วุฒิพงษ์ ทวีวงศ์, อรเอม ตั้งกิจงามวงศ์, ระภัสรา นาคะ พันธุ์อำไพ
{"title":"มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอย่างไร? การวางผังพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศ","authors":"วุฒิพงษ์ ทวีวงศ์, อรเอม ตั้งกิจงามวงศ์, ระภัสรา นาคะ พันธุ์อำไพ","doi":"10.56261/jars.v18i2.243882","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i2.243882","url":null,"abstract":"มหาวิทยาลัยสีเขียวเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับในมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก เนื่องจากมหาวิทยาลัยสีเขียวสามารถแสดงให้เห็นถึงหลักการสำคัญพื้นฐานของมหาวิทยาลัยที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งที่ให้ความสำคัญกับการนำ แนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะการวางผังพื้นที่สีเขียวที่ส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศ โดยมีกระบวนการการศึกษาลักษณะพื้นที่สีเขียวของมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน ผ่านการสำรวจและเก็บข้อมูลทั้งในด้านกายภาพที่สอดคล้องกับดัชนีมหาวิทยาลัยสีเขียว UI Green Metric World University Ranking (UI GreenMetric) และด้านทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและการบริการเชิงนิเวศ ทั้งนี้ ผลการวิเคราะห์พบว่าลักษณะทางกายภาพของพื้นที่สีเขียวในปัจจุบันเอื้อต่อความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยมีพื้นที่เปิดโล่งถึงร้อยละ 75.68 ของพื้นที่มหาวิทยาลัย โดยเป็นพื้นที่ที่ปกคลุมด้วยพืชพรรณในลักษณะป่า 284,840 ตารางเมตร พืชปลูก 319,636 ตารางเมตร และพื้นที่ซึมน้ำ 245,509 ตารางเมตร พื้นที่สีเขียวเหล่านี้ประกอบด้วยพืชพรรณชนิดต่างๆ เป็นจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นไม้ใหญ่ ผลจากการศึกษาทัศนคติของผู้ส่วนส่วนเสียต่อการบริการเชิงนิเวศพบว่า ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการบริการเชิงนิเวศด้านการควบคุมและด้านการสนับสนุนเป็นหลัก ผลจากการวิเคราะห์นำไปสู่การเสนอแนะแนวทางการวางผังพื้นที่สีเขียวที่สามารถส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศต่างๆ ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-02-19","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"115883971","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Collaboration and Participation in Architectural Design: Lesson Learnt from Building a Bamboo Pavilion with Indigenous Karen 建筑设计中的合作与参与:与土著克伦人一起建造竹亭的经验教训
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2021-01-30 DOI: 10.56261/jars.v18i1.241881
Sadanu Sukkasame, Mustafa Alhashimy
{"title":"Collaboration and Participation in Architectural Design: Lesson Learnt from Building a Bamboo Pavilion with Indigenous Karen","authors":"Sadanu Sukkasame, Mustafa Alhashimy","doi":"10.56261/jars.v18i1.241881","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.241881","url":null,"abstract":"The study of the participatory process in architectural design has been discussed for decades, in which the user is directly involved in the design and decision-making in the design process. The collaborative design process is not just a way to influence building form, but it also indicates the dimensions of users and participants. From academic cooperation in the year 2019-2020 between the School of Architecture, Bangkok University and School of Design and the Built Environment, Curtin University, Australia, has an agreement to study and work together for a period of 10 weeks, focusing on collaboration and participation in the construction of an embroidery bamboo pavilion together with the Karen villagers in Banggloy village, Huai Mae Phrieng Subdistrict, Kaeng Krachan District, Phetchaburi Province. This paper focuses on explaining and discussing the process of collaboration and participation in the design and construction of architecture with the Karen people rather than the results of building construction or building form. The methodology of cooperative inquiry draws on experiential knowing which is through a direct face-to-face encounter with the Karen people; place and culture. The practical outcome of the process is a part of the life experience and collaborative practice between students, both universities and the indigenous Karen. Our learning process involves a much number of closer relationships, providing significant knowledge of person through a reciprocal encounter between people and people, and people and the environment. The limitation of the process is time-consuming, financial cost, and the difference of knowledge background of participants. Also, language communication is a significant challenge. It should be bear in mind that the final product was shaped in respect to all opinions, especially of those who will be regularly occupying the space.","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"21 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-01-30","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"121688659","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความหมายของสัญลักษณ์ครุฑกับความสัมพันธ์ของสถาปัตยกรรมศาลากลางยุคมณฑลเทศาภิบาล กรณีศึกษามณฑลเทศาภิบาลในอีสาน 象征意义与建筑关系的关系,泰国,泰国,泰国,埃及。
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2021-01-27 DOI: 10.56261/jars.v18i1.240043
กฤษณะ ปินะพัง, ทรงยศ วีระทวีมาศ
{"title":"ความหมายของสัญลักษณ์ครุฑกับความสัมพันธ์ของสถาปัตยกรรมศาลากลางยุคมณฑลเทศาภิบาล กรณีศึกษามณฑลเทศาภิบาลในอีสาน","authors":"กฤษณะ ปินะพัง, ทรงยศ วีระทวีมาศ","doi":"10.56261/jars.v18i1.240043","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240043","url":null,"abstract":"บทความนี้เป็นการค้นหาความหมายของสัญลักษณ์ครุฑกับความสัมพันธ์ของสถาปัตยกรรมศาลากลาง ยุคมณฑลเทศาภิบาลในพื้นที่อีสาน โดยทำการศึกษาด้วยวิธีการแบบผสมระหว่างแนวคิดวงศาวิทยา (Genealogy) กับ แนวคิดสัญวิทยา (Semiology) ผลการศึกษาค้นพบว่า สัญลักษณ์ครุฑที่ติดบนหน้าบันอาคารศาลากลาง เป็นเสมือนตราพระราชลัญจกรที่ประทับลงบนอาคารเช่นเดียวกันกับพระราชสาส์น หรือ เอกสารอื่นๆ ที่ต้องประทับตราเครื่องหมายเพื่อแสดงให้รับรู้หมายถึงพระเจ้าแผ่นดิน อาคารศาลากลางจึงเป็นตัวแทนของพระมหากษัตริย์ และมีผลให้มณฑลพื้นที่รอบๆ อาคารเป็นดินแดน พระราชอำนาจ เนื่องจากอาคารมีความสถิตติดอยู่กับพื้นที่และยังเป็นศูนย์กลางการปกครองท้องถิ่นที่มีขอบเขตมณฑลชัดเจน และครุฑที่มีความหมายในจักรวาลวิทยาไตยภูมิและเครื่องหมายของกษัตริย์ เมื่อนําามาประทับอาคารความหมายเดิมจึงถูกปรับให้เข้ากับบริบทใหม่ของการปกครองเหนือดินแดน โดยอาคารเป็นตัวแทนการปกครองรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อันแตกต่างจากจวนเจ้าเมืองแต่เดิมที่ไม่ได้เป็นตัวแทนของพระราชอำนาจส่วนกลาง ส่วนอาคารและมณฑลจึงมีนัยยะตามสัญญะแห่งพระราชอำนาจโดยตรง การตั้งอยู่ของอาคารศาลากลางที่มีตราสัญลักษณ์ครุฑจึงเป็นการสถาปนาอำนาจของกษัตริย์เหนือดินแดนมณฑลของอาคารนั้นอันเป็นเสมือนจุลจักรวาล (Microcosm)ของศูนย์กลางที่แห่งนั้น","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"24 1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-01-27","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"115332917","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การเปิดรับแสงธรรมชาติในโถงกึ่งเปิดโล่งเพื่อความยั่งยืน: กรณีศึกษา อาคารสถานศึกษาย่านชานเมืองกรุงเทพมหานคร 可持续发展的半开放大厅自然光开放:曼谷郊区建筑案例研究
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2021-01-20 DOI: 10.56261/jars.v18i1.240105
ทรงพล อัตถากร
{"title":"การเปิดรับแสงธรรมชาติในโถงกึ่งเปิดโล่งเพื่อความยั่งยืน: กรณีศึกษา อาคารสถานศึกษาย่านชานเมืองกรุงเทพมหานคร","authors":"ทรงพล อัตถากร","doi":"10.56261/jars.v18i1.240105","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240105","url":null,"abstract":"เมื่อแสงธรรมชาติภายในโถงกึ่งเปิดโล่งในอาคารเรียนที่ดี สามารถส่งเสริมประสิทธิภาพในการเรียนรู้ การมีสุขภาวะที่ดี และการลดการใช้พลังงาน ดังนั้น การศึกษาถึงการเปิดรับแสงธรรมชาติที่มีคุณภาพจึงมีความสำคัญต่อแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อความยั่งยืน การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาความสัมพันธ์ของรูปแบบทางกายภาพของอาคารที่มีผลต่อคุณภาพของแสงธรรมชาติภายในโถง ขั้นตอนวิจัยเริ่มจากการวิเคราะห์กรณีศึกษาจำนวน 4 อาคาร เพื่อศึกษารูปแบบทางกายภาพ ได้แก่ ลักษณะช่องเปิดรับแสงธรรมชาติ สัดส่วนช่องโถง และองค์ประกอบภายในของโถง และประเมินแสงธรรมชาติที่เกิดขึ้นภายในโถงกรณีศึกษาโดยการจำลองในคอมพิวเตอร์ ต่อจากนั้นศึกษาเปรียบเทียบผลคุณภาพของแสงสว่างภายในกรณีศึกษา เพื่อความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับผลจากการประเมินแสงธรรมชาติ และสุดท้ายเสนอแนะแนวทางในการเปิดรับแสงธรรมชาติในโถงกึ่งเปิดโล่ง โดยมีดัชนีชี้วัดที่สำคัญ ได้แก่ ค่าความสว่าง ค่าความส่องสว่าง ค่าความสม่ำเสมอของแสง ค่าตัวประกอบแสงธรรมชาติ ค่า UDI ค่า sDA ค่า ASE และค่า DGP ผลการวิจัย พบว่า 1) ช่องแสงหลังคาส่งผลต่อแสงสว่างภายในโถงมากที่สุด 2) ช่องแสงผนังในระดับพื้นโถงช่วยส่งเสริมความสม่ำเสมอของแสงภายในโถง 3) สัดส่วนช่องโถงมีผลโดยตรงต่อปริมาณและการกระจายของแสงภายในโถง 4) พื้นที่อับแสงและระดับการสะท้อนของผิวอาคารภายในโถง ส่งผลต่อความสม่ำเสมอของแสงภายในโถง 5) แสงภายในโถงที่เกินกว่า 3000 ลักซ์ มีผลต่อระดับค่าแสงบาดตาสูง และ 6) การประเมินแสงในระนาบแนวตั้งช่วยให้ได้ผลที่สมจริง และการจำลองแสงในรอบปีช่วยให้เห็นผลกระทบจากแสงตลอดทั้งปี ดังนั้นการออกแบบการรับแสงธรรมชาติภายในโถงกึ่งเปิดโล่งจึงควรคำนึงถึง 1) การลดผลกระทบจากรังสีดวงอาทิตย์ 2) การเปิดช่องแสงหลังคาให้สัมพันธ์กับสัดส่วนช่องโถง 3) การควบคุมการเกิดแสงบาดตาให้อยู่ในระดับต่ำ 4) การจัดองค์ประกอบภายในโถงและช่องเปิดให้กระจายแสงได้ทั่วถึง และ 5) การจัดพื้นที่ใช้สอยภายในโถงให้เหมาะกับแสงในแต่ละบริเวณ","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"25 9","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-01-20","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"132238364","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ศักยภาพในการบรรเทาปรากฏการณ์เกาะความร้อนด้วยการแพร่กระจายความเย็นของพื้นที่สีเขียว ภายในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ 通过在清迈地区的绿地上传播冷空气,缓解热岛现象的潜力
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2021-01-18 DOI: 10.56261/jars.v18i1.241605
พรรษวุฒิ นันทรัตน์, วันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ, อัจฉรา วัฒนภิญโญ
{"title":"ศักยภาพในการบรรเทาปรากฏการณ์เกาะความร้อนด้วยการแพร่กระจายความเย็นของพื้นที่สีเขียว ภายในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่","authors":"พรรษวุฒิ นันทรัตน์, วันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ, อัจฉรา วัฒนภิญโญ","doi":"10.56261/jars.v18i1.241605","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.241605","url":null,"abstract":"บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพในการบรรเทาปรากฏการณ์เกาะความร้อน ด้วยการแพร่กระจายความเย็นของพื้นที่สีเขียว ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ จำนวน 5 แห่งซึ่งมีขนาดที่แตกต่างกัน และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการแพร่กระจายความเย็น ประกอบด้วย สัดส่วนของพื้นผิวภายในพื้นที่สีเขียว ปัจจัยทางด้านภูมิอากาศ และปัจจัยทางด้านอัตราการมองเห็นท้องฟ้า (Sky View Factor) ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยทางด้านภูมิอากาศ และปัจจัยทางด้านสัดส่วนของพื้นผิวส่งผลต่อการแพร่กระจายความเย็นทำให้อุณหภูมิบริเวณโดยรอบลดลง โดยเฉพาะบริเวณสวนสุขภาพบ้านเด่น และสวนสุขภาพหนองบวกหาดที่มีพื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่สีเขียวจำนวนมาก สำหรับปัจจัยอัตราการมองเห็นท้องฟ้าพบว่ามีผลต่อการแพร่กระจายความเย็น และอุณหภูมิโดยรอบน้อย นอกจากนี้ยังพบว่าพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดเล็กจะมีการแพร่กระจายความเย็นได้น้อยกว่าพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญ่ โดยพื้นที่สีเขียวสวนสาธารณะรถไฟเป็นสวนขนาด 60.15 ไร่ มีศักยภาพในการแพร่กระจายความเย็นที่รัศมีโดยรอบ 75 -100 เมตร ในขณะที่พื้นที่สีเขียวสวนสุขภาพหนองบวกหาดที่มีขนาด 12.42 ไร่ มีศักยภาพในการแพร่กระจายความเย็นที่รัศมีโดยรอบ 25 -75 เมตร การแพร่กระจายความเย็นทำให้เกิดเกาะความเย็น (Park Cool Island) ทั้งในบริเวณพื้นที่สีเขียวและพื้นที่โดยรอบด้วย รวมถึงปัจจัยสัดส่วนของพื้นผิวภายในพื้นที่สีเขียวมีผลต่ออุณหภูมิ โดยพื้นที่สีเขียวที่มีสัดส่วนของพื้นผิวดาดอ่อนมากกว่าพื้นผิวดาดแข็งจะมีอุณหภูมิที่ต่ำและช่วยเสริมการแพร่กระจายความเย็นโดยรอบพื้นที่สีเขียว ส่งผลให้อุณหภูมิในระดับย่านลดลง","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"15 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-01-18","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"116085710","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
แนวทางการใช้เกณฑ์การประเมินแสงธรรมชาติที่มีผลต่อนาฬิกาชีวิตในประเทศไทย 泰国影响生命周期的自然光评估标准的使用指南
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2021-01-06 DOI: 10.56261/jars.v18i1.236649
จิณห์วรา อรัณย์ชนายุธ, อวิรุทธ์ ศรีสุธาพรรณ
{"title":"แนวทางการใช้เกณฑ์การประเมินแสงธรรมชาติที่มีผลต่อนาฬิกาชีวิตในประเทศไทย","authors":"จิณห์วรา อรัณย์ชนายุธ, อวิรุทธ์ ศรีสุธาพรรณ","doi":"10.56261/jars.v18i1.236649","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.236649","url":null,"abstract":"แนวทางการออกแบบและเกณฑ์ในการประเมินเรื่องแสงที่มีผลต่อนาฬิกาชีวิต (Circadian Lighting) ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่มีการศึกษาและพัฒนามาจากต่างประเทศ ซึ่งยังไม่ได้มีการศึกษาถึงความสอดคล้องและเหมาะสมในการนำมาประยุกต์ใช้งานในประเทศไทย ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการใช้เกณฑ์การออกแบบแสงธรรมชาติที่มีผลต่อนาฬิกาชีวิตในสภาพแสงอาทิตย์ของประเทศไทย เพื่อช่วยให้ผู้ออกแบบเกิดความเข้าใจในการใช้เกณฑ์มากขึ้น เห็นถึงผลการประเมินจากการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน และ เป็นแนวทางในการนำไปใช้ในงานออกแบบต่อไป โดยใช้แบบจำลองที่มีอัตราส่วน 1:1 1:2 และ 2:1 ภายใต้ท้องฟ้าครึ้มและท้องฟ้าโปร่งด้วยโปรแกรม DIALux evo เพื่อนำไปคำนวณปริมาณ CS และ EML\u0000ผลการศึกษาพบว่า ในการใช้แสงธรรมชาติเพื่อทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมกับนาฬิกาชีวิตนั้นจะต้องทำให้ความส่องสว่างในแนวราบมีค่าสูงกว่าค่าความส่องสว่างเฉลี่ยที่ใช้งานโดยทั่วไป จึงจะสามารถผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำได้ คือ เกณฑ์การประเมิน CS (Circadian Stimulus) ต้องทำให้มีความส่องสว่างเฉลี่ยในแนวราบอย่างน้อย 935 ลักซ์ ในช่วงเวลา 8:00 น. - 12:00 น. เพื่อให้ทุกพื้นที่มีปริมาณ CS อย่างน้อย 0.3 และ 394 ลักซ์ ในช่วงเวลา 17:00 น. เพื่อให้ทุกพื้นที่มีปริมาณ CS อย่างน้อย 0.2 และสำหรับเกณฑ์การประเมิน EML (Equivalent Melanopic Lux) จะต้องทำให้มีความส่องสว่างเฉลี่ยในแนวราบอย่างน้อย 772 และ 1197 ลักซ์ ตลอดทั้งวัน เพื่อให้ทุกพื้นที่มีปริมาณ EML อย่างน้อย 150 EML สำหรับการทำคะแนน 1 คะแนน และ 240 EML สำหรับการทำคะแนน 3 คะแนน ตามลำดับ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นค่าที่ค่อนข้างสูงจนอาจทำให้เกิดความไม่สบายตาจากแสงจ้าได้ รวมถึงผลที่เกิดขึ้นในเรื่องการใช้พลังงานของระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สำหรับแนวทางการใช้แสงธรรมชาติในประเทศไทย มีปริมาณแสงที่เพียงพอต่อการใช้งานให้เกิดความเหมาะสมกับนาฬิกาชีวิตได้ในระยะ 1.5 - 3.0 ม. จากริมช่องเปิด สำหรับเกณฑ์การประเมิน CS ระยะ 1.0 – 2.0 ม. จากริมช่องเปิด สำหรับเกณฑ์การประเมิน EML ที่ทำคะแนน 1 คะแนน และระยะ 0.5 – 1.0 ม. จากริมช่องเปิด สำหรับเกณฑ์การประเมิน EML ที่ทำคะแนน 3 คะแนน ซึ่งไม่สามารถครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของห้องได้ อย่างไรก็ดี การใช้วิธีการกำหนดทิศทางการนั่งโดยการหันหน้าเข้าหาช่องเปิดจะสามารถช่วยให้ผู้ใช้อาคารส่วนหนึ่งที่นั่งอยู่ในส่วนลึกของอาคารสามารถได้รับแสงธรรมชาติที่มีความเหมาะสมกับนาฬิกาชีวิตได้ จะเห็นได้ว่าจากความแตกต่างของวิธีการและเกณฑ์ประเมินผลของเกณฑ์ CS และ EML ส่งผลให้การเลือกใช้เกณฑ์ในการประเมินมีผลต่อขอบเขตพื้นที่ที่สามารถใช้แสงธรรมชาติได้ นำไปสู่การจัดพื้นที่ใช้งานภายในอาคารที่แตกต่างกันด้วย อย่างไรก็ดีในการประเมินของเกณฑ์ทั้ง 2 มีการกำหนดให้ทุกพื้นที่ต้องมีปริมาณแสงขั้นต่ำตามที่กำหนดจึงจะทำให้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ซึ่งการใช้แสงประดิษฐ์ร่วมด้วยจะทำให้มีพื้นที่ที่ผ่านเกณฑ์ และ เกิดความเหมาะสมกับนาฬิกาชีวิตได้มากขึ้น","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"431 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-01-06","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"122824622","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
วิธีคำนวณแสงสว่างโดยวิธีลูเมนอย่างง่ายสำหรับโคมกระจายแสง 一种简单的流明照明计算方法
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2020-12-15 DOI: 10.56261/jars.v18i1.241087
ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล
{"title":"วิธีคำนวณแสงสว่างโดยวิธีลูเมนอย่างง่ายสำหรับโคมกระจายแสง","authors":"ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล","doi":"10.56261/jars.v18i1.241087","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.241087","url":null,"abstract":"ในการประกอบวิชาชีพ โอกาสที่สถาปนิกจะได้มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบแสงสว่างในอาคารมีสูงและบ่อยครั้งสิ่งที่ต้องดำเนินการคือการจัดวางดวงโคมลงในพื้นที่ใช้งาน จากการสำรวจโดยการทำแบบสอบถามออนไลน์พบว่าวิธีการที่สถาปนิกเลือกใช้บ่อย ได้แก่ กฎอย่างง่าย ประสบการณ์ และวิธีการอื่นๆ ที่สถาปนิกมีทักษะที่ทำได้คล่องกว่า ในกรณีแสงประดิษฐ์มีวิธีการคำนวณโดยสมการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่สมการคำนวณแสงสว่างโดยวิธีลูเมน แม้ว่าเป็นวิธีการที่มีตัวประกอบไม่มากในสมการ แต่ต้องอาศัยข้อมูลจากผู้ผลิตหลอดไฟและโคม และข้อมูลการดูแลรักษาอาคารเพื่อใช้ในการคำนวณ ซึ่งเป็นอุปสรรคที่อาจจะทำให้สถาปนิกไม่นิยมใช้วิธีการคำนวณแสงสว่างโดยวิธีลูเมน บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์ขั้นตอนการคำนวณแสงสว่างโดยวิธีลูเมน บทความมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดตัวประกอบให้ง่ายขึ้น สำหรับห้องที่มีการติดตั้งหลอดไฟ (tube lamp) ในโคมกระจายแสงบนฝ้าเพดาน และนำเสนอผลการปรับสมการคำนวณโดยวิธีลูเมน เปรียบเทียบผลกับผลที่ได้จากการสำรวจ ส่วนสุดท้ายคือการคำนวณแสงสว่างโดยวิธีลูเมนอย่างง่ายโดยการรวมตัวประกอบในสมการ และแสดงตัวอย่างเพื่อให้สถาปนิกสามารถนำไปใช้ และส่วนสุดท้ายของบทความเปรียบเทียบผลที่คำนวณได้จากสมการคำนวณแสงสว่างอย่างง่ายกับผลจากการคำนวณในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ DIALux 4.13 ซึ่งพบว่าวิธีคำนวณแสงสว่างโดยวิธีลูเมนอย่างง่ายใกล้เคียงกับค่าที่จำลองจากโปรแกรม","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"197 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-15","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"132797965","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
สิ่งดึงดูดครีเอทีฟ: อิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ต่อพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ย่านเจริญกรุง 创意生态:创意生态对文明创意群体空间行为的影响
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2020-12-04 DOI: 10.56261/jars.v18i1.240083
ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า, พีรดร แก้วลาย
{"title":"สิ่งดึงดูดครีเอทีฟ: อิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ต่อพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ย่านเจริญกรุง","authors":"ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า, พีรดร แก้วลาย","doi":"10.56261/jars.v18i1.240083","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240083","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีเป้าหมายในการค้นหาองค์ประกอบของพฤติกรรมการใช้พื้นที่และองค์ประกอบนิเวศสร้างสรรค์ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ในย่านเจริญกรุง และพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งสอง วิธีการวิจัยที่ใช้เทคนิคทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ เก็บข้อมูลกลุ่มคนสร้างสรรค์จำนวน 450 คน เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทั้งเชิงสำรวจและเชิงยืนยันสองอันดับ และพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้พื้นที่แบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ พฤติกรรมการใช้พื้นที่ที่เป็นการใช้งานประจำ เข้ามาแม้ไม่ได้มีธุระ และพฤติกรรมการใช้พื้นที่ที่เข้ามาเมื่อมีธุระหรือมีเป้าหมาย สำหรับนิเวศสร้างสรรค์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ พื้นที่เชื่อมต่อโดยตรงกับการทำงานและกิจกรรมธุรกิจสร้างสรรค์ (connectors) และพื้นที่ที่สนับสนุนทางอ้อมให้เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ (enablers) ผลการศึกษาถึงอิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ต่อพฤติกรรมการใช้พื้นที่ พบว่า พฤติกรรมการใช้พื้นที่ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ในทุกรูปแบบเกิดจากอิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ที่เป็นพื้นที่เชื่อมต่อโดยตรงกับการทำงานและธุรกิจอย่างมีนัยสำคัญ และไม่พบว่ามีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญของนิเวศสร้างสรรค์กลุ่มสิ่งสนับสนุนพื้นฐานที่เป็นการเชื่อมต่อพื้นที่ให้เดินได้ พื้นที่สาธารณะแสดงงาน พื้นที่เปิดรับความหลากหลายและการพัฒนาสินทรัพย์ของพื้นที่เอง ซึ่งผู้ที่มีส่วนในการพัฒนาย่านสร้างสรรค์สามารถนำข้อค้นพบนี้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดลำดับการพัฒนาที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของคนสร้างสรรค์ที่เป็นผู้ใช้งานหลักได้","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"64 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-04","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"125889838","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาแนวทางการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์น้ำตกน้ำเค็ม จังหวัดตรัง เพื่อการท่องเที่ยวโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน 在公众参与的情况下,对平昌咸水瀑布景观的改善设计方法进行了研究。
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2020-11-10 DOI: 10.56261/jars.v18i1.239987
ณัฐนีภรณ์ น้อยเสงี่ยม, สาทินี วัฒนกิจ
{"title":"การศึกษาแนวทางการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์น้ำตกน้ำเค็ม จังหวัดตรัง เพื่อการท่องเที่ยวโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน","authors":"ณัฐนีภรณ์ น้อยเสงี่ยม, สาทินี วัฒนกิจ","doi":"10.56261/jars.v18i1.239987","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.239987","url":null,"abstract":"บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาศักยภาพและอัตลักษณ์ที่โดดเด่น บนความสัมพันธ์ทางกายภาพของสภาพแวดล้อมธรรมชาติและตำนานความเชื่อท้องถิ่น เพื่อการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์น้ำตกน้ำเค็ม จังหวัดตรัง ดำเนินการด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในพื้นที่ โดยมีกลุ่มตัวแทนชุมชน ผู้ประกอบการท่องเที่ยวชุมชน ผู้นำชุมชน ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ ร่วมกิจกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบภูมิทัศน์ของแหล่งท่องเที่ยวร่วมกับชุมชน ผลการวิจัยพบว่า แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกน้ำเค็มมีความเป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่นทางด้านสภาพแวดล้อมธรรมชาติและความสัมพันธ์กับตำนานท้องถิ่น การค้นหารูปแบบภูมิทัศน์ที่เหมาะสมคำนึงถึงความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม และนำอัตลักษณ์มาเป็นส่วนหนึ่งของการจัดวางองค์ประกอบภูมิทัศน์ ข้อค้นพบประเด็นสำคัญในการวิจัย คือ ชุมชนมีส่วนร่วมเพียงระดับการร่วมปรึกษาหารือ ส่วนอำนาจการตัดสินใจหน่วยงานภาครัฐยังคงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการกำหนดแนวทางการพัฒนา การค้นหารูปแบบภูมิทัศน์ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมวิเคราะห์ แก้ปัญหาร่วมกันระหว่างนักวิจัยและชุมชนส่งผลให้เกิดพลังการขับเคลื่อนเพื่อนำรูปแบบภูมิทัศน์มาพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืนต่อไป","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"40 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-11-10","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"114986189","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การใช้ม่านบังผนังกระจกและปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิภายในห้องไม่ปรับอากาศ 使用玻璃幕墙和通风口来降低室内温度,而不是空调。
Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS) Pub Date : 2020-10-30 DOI: 10.56261/jars.v18i1.240009
ประภัสสร แซมมงคล, สุดาภรณ์ สุดประเสริฐ
{"title":"การใช้ม่านบังผนังกระจกและปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิภายในห้องไม่ปรับอากาศ","authors":"ประภัสสร แซมมงคล, สุดาภรณ์ สุดประเสริฐ","doi":"10.56261/jars.v18i1.240009","DOIUrl":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240009","url":null,"abstract":"ผ้าม่านบังแดดที่ผนังกระจกนั้นมีอุณหภูมิผิวผ้าม่านสูงและมีอากาศร้อนในช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านไหลเข้ามาภายในห้อง งานวิจัยนี้จึงศึกษาการใช้ช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านเป็นปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิม่านโดยทดลองตัวอย่างผ้าม่าน 3 ชนิดคือผ้าม่านตัดแสง ผ้าม่านทึบแสงและผ้าม่านสะท้อนความร้อนที่มีอลูมิเนียมเคลือบผิวด้านนอก การทดลองประกอบด้วยการติดตั้งผ้าม่านเป็นผนังด้านในของปล่องและเปิดช่องเปิดที่ด้านบนกระจกและที่ด้านล่างของม่านเป็นทางออกและทางเข้าของอากาศตามลำดับ ผลการศึกษานำไปเปรียบเทียบกับกรณีปิดช่องเปิดทางออก-เข้าปล่องไม่ให้อากาศไหลผ่าน ผลการศึกษาที่ค่ารังสีอาทิตย์คงที่ 600 W/m2 พบว่าอุณหภูมิผิวของผ้าม่านเมื่อเปิดใช้ปล่องระบายอากาศมีค่าต่ำกว่าเมื่อมีการปิดช่องระบายอากาศอยู่ 2.2 - 5.4 °C โดยผ้าม่านสะท้อนความร้อนมีอุณหภูมิผิวต่ำที่สุด อุณหภูมิผ้าม่านทั้ง 3 ชนิดสูงกว่าอุณหภูมิห้องประมาณ 7.6 - 12.4 °C อย่างไรก็ตามพบว่ามีการรั่วซึมของอากาศร้อนออกจากปล่องผ่านรูพรุนของผ้าและการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ภายในกล่องทดลอง งานวิจัยนี้ได้พบว่าผ้าม่านตัวอย่างนั้นมีความต้านทานความร้อนต่ำซึ่งส่งผลต่อสมรรถนะของปล่องระบายอากาศ ดังนั้นจึงได้แนะนำให้ใช้วัสดุฉนวนที่เคลือบผิวด้านนอกด้วยอลูมิเนียมสะท้อนความร้อนมีค่าการต้านทานความรวมอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 0.94 - 1.0 °Cm2/W แทนการใช้ม่านทั่วไปที่ทำมาจากเส้นใยโพลีเอสเตอร์ สามารถลดความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิผิวด้านในของม่านและอุณหภูมิห้องลงได้ 6 °C","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"18 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-10-30","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"124049865","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
相关产品
×
本文献相关产品
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信