{"title":"在公众参与的情况下,对平昌咸水瀑布景观的改善设计方法进行了研究。","authors":"ณัฐนีภรณ์ น้อยเสงี่ยม, สาทินี วัฒนกิจ","doi":"10.56261/jars.v18i1.239987","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาศักยภาพและอัตลักษณ์ที่โดดเด่น บนความสัมพันธ์ทางกายภาพของสภาพแวดล้อมธรรมชาติและตำนานความเชื่อท้องถิ่น เพื่อการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์น้ำตกน้ำเค็ม จังหวัดตรัง ดำเนินการด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในพื้นที่ โดยมีกลุ่มตัวแทนชุมชน ผู้ประกอบการท่องเที่ยวชุมชน ผู้นำชุมชน ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ ร่วมกิจกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบภูมิทัศน์ของแหล่งท่องเที่ยวร่วมกับชุมชน ผลการวิจัยพบว่า แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกน้ำเค็มมีความเป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่นทางด้านสภาพแวดล้อมธรรมชาติและความสัมพันธ์กับตำนานท้องถิ่น การค้นหารูปแบบภูมิทัศน์ที่เหมาะสมคำนึงถึงความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม และนำอัตลักษณ์มาเป็นส่วนหนึ่งของการจัดวางองค์ประกอบภูมิทัศน์ ข้อค้นพบประเด็นสำคัญในการวิจัย คือ ชุมชนมีส่วนร่วมเพียงระดับการร่วมปรึกษาหารือ ส่วนอำนาจการตัดสินใจหน่วยงานภาครัฐยังคงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการกำหนดแนวทางการพัฒนา การค้นหารูปแบบภูมิทัศน์ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมวิเคราะห์ แก้ปัญหาร่วมกันระหว่างนักวิจัยและชุมชนส่งผลให้เกิดพลังการขับเคลื่อนเพื่อนำรูปแบบภูมิทัศน์มาพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืนต่อไป","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"40 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2020-11-10","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การศึกษาแนวทางการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์น้ำตกน้ำเค็ม จังหวัดตรัง เพื่อการท่องเที่ยวโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน\",\"authors\":\"ณัฐนีภรณ์ น้อยเสงี่ยม, สาทินี วัฒนกิจ\",\"doi\":\"10.56261/jars.v18i1.239987\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาศักยภาพและอัตลักษณ์ที่โดดเด่น บนความสัมพันธ์ทางกายภาพของสภาพแวดล้อมธรรมชาติและตำนานความเชื่อท้องถิ่น เพื่อการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์น้ำตกน้ำเค็ม จังหวัดตรัง ดำเนินการด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในพื้นที่ โดยมีกลุ่มตัวแทนชุมชน ผู้ประกอบการท่องเที่ยวชุมชน ผู้นำชุมชน ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ ร่วมกิจกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบภูมิทัศน์ของแหล่งท่องเที่ยวร่วมกับชุมชน ผลการวิจัยพบว่า แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกน้ำเค็มมีความเป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่นทางด้านสภาพแวดล้อมธรรมชาติและความสัมพันธ์กับตำนานท้องถิ่น การค้นหารูปแบบภูมิทัศน์ที่เหมาะสมคำนึงถึงความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม และนำอัตลักษณ์มาเป็นส่วนหนึ่งของการจัดวางองค์ประกอบภูมิทัศน์ ข้อค้นพบประเด็นสำคัญในการวิจัย คือ ชุมชนมีส่วนร่วมเพียงระดับการร่วมปรึกษาหารือ ส่วนอำนาจการตัดสินใจหน่วยงานภาครัฐยังคงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการกำหนดแนวทางการพัฒนา การค้นหารูปแบบภูมิทัศน์ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมวิเคราะห์ แก้ปัญหาร่วมกันระหว่างนักวิจัยและชุมชนส่งผลให้เกิดพลังการขับเคลื่อนเพื่อนำรูปแบบภูมิทัศน์มาพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืนต่อไป\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"40 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2020-11-10\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.239987\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.239987","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0