การใช้ม่านบังผนังกระจกและปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิภายในห้องไม่ปรับอากาศ

ประภัสสร แซมมงคล, สุดาภรณ์ สุดประเสริฐ
{"title":"การใช้ม่านบังผนังกระจกและปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิภายในห้องไม่ปรับอากาศ","authors":"ประภัสสร แซมมงคล, สุดาภรณ์ สุดประเสริฐ","doi":"10.56261/jars.v18i1.240009","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ผ้าม่านบังแดดที่ผนังกระจกนั้นมีอุณหภูมิผิวผ้าม่านสูงและมีอากาศร้อนในช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านไหลเข้ามาภายในห้อง งานวิจัยนี้จึงศึกษาการใช้ช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านเป็นปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิม่านโดยทดลองตัวอย่างผ้าม่าน 3 ชนิดคือผ้าม่านตัดแสง ผ้าม่านทึบแสงและผ้าม่านสะท้อนความร้อนที่มีอลูมิเนียมเคลือบผิวด้านนอก การทดลองประกอบด้วยการติดตั้งผ้าม่านเป็นผนังด้านในของปล่องและเปิดช่องเปิดที่ด้านบนกระจกและที่ด้านล่างของม่านเป็นทางออกและทางเข้าของอากาศตามลำดับ ผลการศึกษานำไปเปรียบเทียบกับกรณีปิดช่องเปิดทางออก-เข้าปล่องไม่ให้อากาศไหลผ่าน ผลการศึกษาที่ค่ารังสีอาทิตย์คงที่ 600 W/m2 พบว่าอุณหภูมิผิวของผ้าม่านเมื่อเปิดใช้ปล่องระบายอากาศมีค่าต่ำกว่าเมื่อมีการปิดช่องระบายอากาศอยู่ 2.2 - 5.4 °C โดยผ้าม่านสะท้อนความร้อนมีอุณหภูมิผิวต่ำที่สุด อุณหภูมิผ้าม่านทั้ง 3 ชนิดสูงกว่าอุณหภูมิห้องประมาณ 7.6 - 12.4 °C อย่างไรก็ตามพบว่ามีการรั่วซึมของอากาศร้อนออกจากปล่องผ่านรูพรุนของผ้าและการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ภายในกล่องทดลอง งานวิจัยนี้ได้พบว่าผ้าม่านตัวอย่างนั้นมีความต้านทานความร้อนต่ำซึ่งส่งผลต่อสมรรถนะของปล่องระบายอากาศ ดังนั้นจึงได้แนะนำให้ใช้วัสดุฉนวนที่เคลือบผิวด้านนอกด้วยอลูมิเนียมสะท้อนความร้อนมีค่าการต้านทานความรวมอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 0.94 - 1.0 °Cm2/W แทนการใช้ม่านทั่วไปที่ทำมาจากเส้นใยโพลีเอสเตอร์ สามารถลดความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิผิวด้านในของม่านและอุณหภูมิห้องลงได้ 6 °C","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"18 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2020-10-30","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240009","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

ผ้าม่านบังแดดที่ผนังกระจกนั้นมีอุณหภูมิผิวผ้าม่านสูงและมีอากาศร้อนในช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านไหลเข้ามาภายในห้อง งานวิจัยนี้จึงศึกษาการใช้ช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านเป็นปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิม่านโดยทดลองตัวอย่างผ้าม่าน 3 ชนิดคือผ้าม่านตัดแสง ผ้าม่านทึบแสงและผ้าม่านสะท้อนความร้อนที่มีอลูมิเนียมเคลือบผิวด้านนอก การทดลองประกอบด้วยการติดตั้งผ้าม่านเป็นผนังด้านในของปล่องและเปิดช่องเปิดที่ด้านบนกระจกและที่ด้านล่างของม่านเป็นทางออกและทางเข้าของอากาศตามลำดับ ผลการศึกษานำไปเปรียบเทียบกับกรณีปิดช่องเปิดทางออก-เข้าปล่องไม่ให้อากาศไหลผ่าน ผลการศึกษาที่ค่ารังสีอาทิตย์คงที่ 600 W/m2 พบว่าอุณหภูมิผิวของผ้าม่านเมื่อเปิดใช้ปล่องระบายอากาศมีค่าต่ำกว่าเมื่อมีการปิดช่องระบายอากาศอยู่ 2.2 - 5.4 °C โดยผ้าม่านสะท้อนความร้อนมีอุณหภูมิผิวต่ำที่สุด อุณหภูมิผ้าม่านทั้ง 3 ชนิดสูงกว่าอุณหภูมิห้องประมาณ 7.6 - 12.4 °C อย่างไรก็ตามพบว่ามีการรั่วซึมของอากาศร้อนออกจากปล่องผ่านรูพรุนของผ้าและการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ภายในกล่องทดลอง งานวิจัยนี้ได้พบว่าผ้าม่านตัวอย่างนั้นมีความต้านทานความร้อนต่ำซึ่งส่งผลต่อสมรรถนะของปล่องระบายอากาศ ดังนั้นจึงได้แนะนำให้ใช้วัสดุฉนวนที่เคลือบผิวด้านนอกด้วยอลูมิเนียมสะท้อนความร้อนมีค่าการต้านทานความรวมอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 0.94 - 1.0 °Cm2/W แทนการใช้ม่านทั่วไปที่ทำมาจากเส้นใยโพลีเอสเตอร์ สามารถลดความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิผิวด้านในของม่านและอุณหภูมิห้องลงได้ 6 °C
使用玻璃幕墙和通风口来降低室内温度,而不是空调。
玻璃幕墙的遮阳板有很高的幕墙温度,在玻璃和窗帘之间的空气进入房间的过程中会产生热空气。本研究利用玻璃和窗帘之间的空气进入房间来降低窗帘的温度。三种窗帘的例子是遮阳板、遮阳板、不透明的窗帘和反射热的窗帘。实验包括在玻璃上安装幕墙和在玻璃上的开口,以及在玻璃上的开口和在玻璃上的入口。对比研究发现,在每周600 w /m2的恒定辐射下,通风时窗帘的表面温度较低,在2.2 - 5.4℃之间,反射帘的表面温度最低。3种窗帘的温度都比室温高7.6 - 12.4℃。然而,通过织物的多孔渗漏和将热量传递到箱内的热空气中,本研究发现样品帘具有较低的热阻,影响通风性能。因此,建议使用热反射铝外涂层的绝缘材料,其总电阻至少为0.94 - 1.0℃2/W,而不是一般的聚酯纤维窗帘,可以将内部表面温度和室温差异降低6℃。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信