{"title":"使用玻璃幕墙和通风口来降低室内温度,而不是空调。","authors":"ประภัสสร แซมมงคล, สุดาภรณ์ สุดประเสริฐ","doi":"10.56261/jars.v18i1.240009","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ผ้าม่านบังแดดที่ผนังกระจกนั้นมีอุณหภูมิผิวผ้าม่านสูงและมีอากาศร้อนในช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านไหลเข้ามาภายในห้อง งานวิจัยนี้จึงศึกษาการใช้ช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านเป็นปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิม่านโดยทดลองตัวอย่างผ้าม่าน 3 ชนิดคือผ้าม่านตัดแสง ผ้าม่านทึบแสงและผ้าม่านสะท้อนความร้อนที่มีอลูมิเนียมเคลือบผิวด้านนอก การทดลองประกอบด้วยการติดตั้งผ้าม่านเป็นผนังด้านในของปล่องและเปิดช่องเปิดที่ด้านบนกระจกและที่ด้านล่างของม่านเป็นทางออกและทางเข้าของอากาศตามลำดับ ผลการศึกษานำไปเปรียบเทียบกับกรณีปิดช่องเปิดทางออก-เข้าปล่องไม่ให้อากาศไหลผ่าน ผลการศึกษาที่ค่ารังสีอาทิตย์คงที่ 600 W/m2 พบว่าอุณหภูมิผิวของผ้าม่านเมื่อเปิดใช้ปล่องระบายอากาศมีค่าต่ำกว่าเมื่อมีการปิดช่องระบายอากาศอยู่ 2.2 - 5.4 °C โดยผ้าม่านสะท้อนความร้อนมีอุณหภูมิผิวต่ำที่สุด อุณหภูมิผ้าม่านทั้ง 3 ชนิดสูงกว่าอุณหภูมิห้องประมาณ 7.6 - 12.4 °C อย่างไรก็ตามพบว่ามีการรั่วซึมของอากาศร้อนออกจากปล่องผ่านรูพรุนของผ้าและการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ภายในกล่องทดลอง งานวิจัยนี้ได้พบว่าผ้าม่านตัวอย่างนั้นมีความต้านทานความร้อนต่ำซึ่งส่งผลต่อสมรรถนะของปล่องระบายอากาศ ดังนั้นจึงได้แนะนำให้ใช้วัสดุฉนวนที่เคลือบผิวด้านนอกด้วยอลูมิเนียมสะท้อนความร้อนมีค่าการต้านทานความรวมอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 0.94 - 1.0 °Cm2/W แทนการใช้ม่านทั่วไปที่ทำมาจากเส้นใยโพลีเอสเตอร์ สามารถลดความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิผิวด้านในของม่านและอุณหภูมิห้องลงได้ 6 °C","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"18 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2020-10-30","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การใช้ม่านบังผนังกระจกและปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิภายในห้องไม่ปรับอากาศ\",\"authors\":\"ประภัสสร แซมมงคล, สุดาภรณ์ สุดประเสริฐ\",\"doi\":\"10.56261/jars.v18i1.240009\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ผ้าม่านบังแดดที่ผนังกระจกนั้นมีอุณหภูมิผิวผ้าม่านสูงและมีอากาศร้อนในช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านไหลเข้ามาภายในห้อง งานวิจัยนี้จึงศึกษาการใช้ช่องอากาศระหว่างกระจกกับม่านเป็นปล่องระบายอากาศเพื่อลดอุณหภูมิม่านโดยทดลองตัวอย่างผ้าม่าน 3 ชนิดคือผ้าม่านตัดแสง ผ้าม่านทึบแสงและผ้าม่านสะท้อนความร้อนที่มีอลูมิเนียมเคลือบผิวด้านนอก การทดลองประกอบด้วยการติดตั้งผ้าม่านเป็นผนังด้านในของปล่องและเปิดช่องเปิดที่ด้านบนกระจกและที่ด้านล่างของม่านเป็นทางออกและทางเข้าของอากาศตามลำดับ ผลการศึกษานำไปเปรียบเทียบกับกรณีปิดช่องเปิดทางออก-เข้าปล่องไม่ให้อากาศไหลผ่าน ผลการศึกษาที่ค่ารังสีอาทิตย์คงที่ 600 W/m2 พบว่าอุณหภูมิผิวของผ้าม่านเมื่อเปิดใช้ปล่องระบายอากาศมีค่าต่ำกว่าเมื่อมีการปิดช่องระบายอากาศอยู่ 2.2 - 5.4 °C โดยผ้าม่านสะท้อนความร้อนมีอุณหภูมิผิวต่ำที่สุด อุณหภูมิผ้าม่านทั้ง 3 ชนิดสูงกว่าอุณหภูมิห้องประมาณ 7.6 - 12.4 °C อย่างไรก็ตามพบว่ามีการรั่วซึมของอากาศร้อนออกจากปล่องผ่านรูพรุนของผ้าและการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ภายในกล่องทดลอง งานวิจัยนี้ได้พบว่าผ้าม่านตัวอย่างนั้นมีความต้านทานความร้อนต่ำซึ่งส่งผลต่อสมรรถนะของปล่องระบายอากาศ ดังนั้นจึงได้แนะนำให้ใช้วัสดุฉนวนที่เคลือบผิวด้านนอกด้วยอลูมิเนียมสะท้อนความร้อนมีค่าการต้านทานความรวมอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 0.94 - 1.0 °Cm2/W แทนการใช้ม่านทั่วไปที่ทำมาจากเส้นใยโพลีเอสเตอร์ สามารถลดความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิผิวด้านในของม่านและอุณหภูมิห้องลงได้ 6 °C\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"18 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2020-10-30\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240009\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240009","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0