{"title":"象征意义与建筑关系的关系,泰国,泰国,泰国,埃及。","authors":"กฤษณะ ปินะพัง, ทรงยศ วีระทวีมาศ","doi":"10.56261/jars.v18i1.240043","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทความนี้เป็นการค้นหาความหมายของสัญลักษณ์ครุฑกับความสัมพันธ์ของสถาปัตยกรรมศาลากลาง ยุคมณฑลเทศาภิบาลในพื้นที่อีสาน โดยทำการศึกษาด้วยวิธีการแบบผสมระหว่างแนวคิดวงศาวิทยา (Genealogy) กับ แนวคิดสัญวิทยา (Semiology) ผลการศึกษาค้นพบว่า สัญลักษณ์ครุฑที่ติดบนหน้าบันอาคารศาลากลาง เป็นเสมือนตราพระราชลัญจกรที่ประทับลงบนอาคารเช่นเดียวกันกับพระราชสาส์น หรือ เอกสารอื่นๆ ที่ต้องประทับตราเครื่องหมายเพื่อแสดงให้รับรู้หมายถึงพระเจ้าแผ่นดิน อาคารศาลากลางจึงเป็นตัวแทนของพระมหากษัตริย์ และมีผลให้มณฑลพื้นที่รอบๆ อาคารเป็นดินแดน พระราชอำนาจ เนื่องจากอาคารมีความสถิตติดอยู่กับพื้นที่และยังเป็นศูนย์กลางการปกครองท้องถิ่นที่มีขอบเขตมณฑลชัดเจน และครุฑที่มีความหมายในจักรวาลวิทยาไตยภูมิและเครื่องหมายของกษัตริย์ เมื่อนําามาประทับอาคารความหมายเดิมจึงถูกปรับให้เข้ากับบริบทใหม่ของการปกครองเหนือดินแดน โดยอาคารเป็นตัวแทนการปกครองรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อันแตกต่างจากจวนเจ้าเมืองแต่เดิมที่ไม่ได้เป็นตัวแทนของพระราชอำนาจส่วนกลาง ส่วนอาคารและมณฑลจึงมีนัยยะตามสัญญะแห่งพระราชอำนาจโดยตรง การตั้งอยู่ของอาคารศาลากลางที่มีตราสัญลักษณ์ครุฑจึงเป็นการสถาปนาอำนาจของกษัตริย์เหนือดินแดนมณฑลของอาคารนั้นอันเป็นเสมือนจุลจักรวาล (Microcosm)ของศูนย์กลางที่แห่งนั้น","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"24 1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-01-27","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ความหมายของสัญลักษณ์ครุฑกับความสัมพันธ์ของสถาปัตยกรรมศาลากลางยุคมณฑลเทศาภิบาล กรณีศึกษามณฑลเทศาภิบาลในอีสาน\",\"authors\":\"กฤษณะ ปินะพัง, ทรงยศ วีระทวีมาศ\",\"doi\":\"10.56261/jars.v18i1.240043\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"บทความนี้เป็นการค้นหาความหมายของสัญลักษณ์ครุฑกับความสัมพันธ์ของสถาปัตยกรรมศาลากลาง ยุคมณฑลเทศาภิบาลในพื้นที่อีสาน โดยทำการศึกษาด้วยวิธีการแบบผสมระหว่างแนวคิดวงศาวิทยา (Genealogy) กับ แนวคิดสัญวิทยา (Semiology) ผลการศึกษาค้นพบว่า สัญลักษณ์ครุฑที่ติดบนหน้าบันอาคารศาลากลาง เป็นเสมือนตราพระราชลัญจกรที่ประทับลงบนอาคารเช่นเดียวกันกับพระราชสาส์น หรือ เอกสารอื่นๆ ที่ต้องประทับตราเครื่องหมายเพื่อแสดงให้รับรู้หมายถึงพระเจ้าแผ่นดิน อาคารศาลากลางจึงเป็นตัวแทนของพระมหากษัตริย์ และมีผลให้มณฑลพื้นที่รอบๆ อาคารเป็นดินแดน พระราชอำนาจ เนื่องจากอาคารมีความสถิตติดอยู่กับพื้นที่และยังเป็นศูนย์กลางการปกครองท้องถิ่นที่มีขอบเขตมณฑลชัดเจน และครุฑที่มีความหมายในจักรวาลวิทยาไตยภูมิและเครื่องหมายของกษัตริย์ เมื่อนําามาประทับอาคารความหมายเดิมจึงถูกปรับให้เข้ากับบริบทใหม่ของการปกครองเหนือดินแดน โดยอาคารเป็นตัวแทนการปกครองรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อันแตกต่างจากจวนเจ้าเมืองแต่เดิมที่ไม่ได้เป็นตัวแทนของพระราชอำนาจส่วนกลาง ส่วนอาคารและมณฑลจึงมีนัยยะตามสัญญะแห่งพระราชอำนาจโดยตรง การตั้งอยู่ของอาคารศาลากลางที่มีตราสัญลักษณ์ครุฑจึงเป็นการสถาปนาอำนาจของกษัตริย์เหนือดินแดนมณฑลของอาคารนั้นอันเป็นเสมือนจุลจักรวาล (Microcosm)ของศูนย์กลางที่แห่งนั้น\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"24 1 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2021-01-27\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240043\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240043","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0