{"title":"创意生态:创意生态对文明创意群体空间行为的影响","authors":"ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า, พีรดร แก้วลาย","doi":"10.56261/jars.v18i1.240083","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีเป้าหมายในการค้นหาองค์ประกอบของพฤติกรรมการใช้พื้นที่และองค์ประกอบนิเวศสร้างสรรค์ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ในย่านเจริญกรุง และพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งสอง วิธีการวิจัยที่ใช้เทคนิคทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ เก็บข้อมูลกลุ่มคนสร้างสรรค์จำนวน 450 คน เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทั้งเชิงสำรวจและเชิงยืนยันสองอันดับ และพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้พื้นที่แบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ พฤติกรรมการใช้พื้นที่ที่เป็นการใช้งานประจำ เข้ามาแม้ไม่ได้มีธุระ และพฤติกรรมการใช้พื้นที่ที่เข้ามาเมื่อมีธุระหรือมีเป้าหมาย สำหรับนิเวศสร้างสรรค์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ พื้นที่เชื่อมต่อโดยตรงกับการทำงานและกิจกรรมธุรกิจสร้างสรรค์ (connectors) และพื้นที่ที่สนับสนุนทางอ้อมให้เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ (enablers) ผลการศึกษาถึงอิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ต่อพฤติกรรมการใช้พื้นที่ พบว่า พฤติกรรมการใช้พื้นที่ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ในทุกรูปแบบเกิดจากอิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ที่เป็นพื้นที่เชื่อมต่อโดยตรงกับการทำงานและธุรกิจอย่างมีนัยสำคัญ และไม่พบว่ามีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญของนิเวศสร้างสรรค์กลุ่มสิ่งสนับสนุนพื้นฐานที่เป็นการเชื่อมต่อพื้นที่ให้เดินได้ พื้นที่สาธารณะแสดงงาน พื้นที่เปิดรับความหลากหลายและการพัฒนาสินทรัพย์ของพื้นที่เอง ซึ่งผู้ที่มีส่วนในการพัฒนาย่านสร้างสรรค์สามารถนำข้อค้นพบนี้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดลำดับการพัฒนาที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของคนสร้างสรรค์ที่เป็นผู้ใช้งานหลักได้","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"64 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2020-12-04","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"สิ่งดึงดูดครีเอทีฟ: อิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ต่อพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ย่านเจริญกรุง\",\"authors\":\"ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า, พีรดร แก้วลาย\",\"doi\":\"10.56261/jars.v18i1.240083\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยนี้มีเป้าหมายในการค้นหาองค์ประกอบของพฤติกรรมการใช้พื้นที่และองค์ประกอบนิเวศสร้างสรรค์ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ในย่านเจริญกรุง และพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งสอง วิธีการวิจัยที่ใช้เทคนิคทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ เก็บข้อมูลกลุ่มคนสร้างสรรค์จำนวน 450 คน เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทั้งเชิงสำรวจและเชิงยืนยันสองอันดับ และพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้พื้นที่แบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ พฤติกรรมการใช้พื้นที่ที่เป็นการใช้งานประจำ เข้ามาแม้ไม่ได้มีธุระ และพฤติกรรมการใช้พื้นที่ที่เข้ามาเมื่อมีธุระหรือมีเป้าหมาย สำหรับนิเวศสร้างสรรค์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ พื้นที่เชื่อมต่อโดยตรงกับการทำงานและกิจกรรมธุรกิจสร้างสรรค์ (connectors) และพื้นที่ที่สนับสนุนทางอ้อมให้เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ (enablers) ผลการศึกษาถึงอิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ต่อพฤติกรรมการใช้พื้นที่ พบว่า พฤติกรรมการใช้พื้นที่ของกลุ่มคนสร้างสรรค์ในทุกรูปแบบเกิดจากอิทธิพลของนิเวศสร้างสรรค์ที่เป็นพื้นที่เชื่อมต่อโดยตรงกับการทำงานและธุรกิจอย่างมีนัยสำคัญ และไม่พบว่ามีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญของนิเวศสร้างสรรค์กลุ่มสิ่งสนับสนุนพื้นฐานที่เป็นการเชื่อมต่อพื้นที่ให้เดินได้ พื้นที่สาธารณะแสดงงาน พื้นที่เปิดรับความหลากหลายและการพัฒนาสินทรัพย์ของพื้นที่เอง ซึ่งผู้ที่มีส่วนในการพัฒนาย่านสร้างสรรค์สามารถนำข้อค้นพบนี้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดลำดับการพัฒนาที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของคนสร้างสรรค์ที่เป็นผู้ใช้งานหลักได้\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"64 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2020-12-04\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240083\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240083","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0