农业大学和绿色大学有什么关系?促进生态服务的绿色空间规划

วุฒิพงษ์ ทวีวงศ์, อรเอม ตั้งกิจงามวงศ์, ระภัสรา นาคะ พันธุ์อำไพ
{"title":"农业大学和绿色大学有什么关系?促进生态服务的绿色空间规划","authors":"วุฒิพงษ์ ทวีวงศ์, อรเอม ตั้งกิจงามวงศ์, ระภัสรา นาคะ พันธุ์อำไพ","doi":"10.56261/jars.v18i2.243882","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"มหาวิทยาลัยสีเขียวเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับในมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก เนื่องจากมหาวิทยาลัยสีเขียวสามารถแสดงให้เห็นถึงหลักการสำคัญพื้นฐานของมหาวิทยาลัยที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งที่ให้ความสำคัญกับการนำ แนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะการวางผังพื้นที่สีเขียวที่ส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศ โดยมีกระบวนการการศึกษาลักษณะพื้นที่สีเขียวของมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน ผ่านการสำรวจและเก็บข้อมูลทั้งในด้านกายภาพที่สอดคล้องกับดัชนีมหาวิทยาลัยสีเขียว UI Green Metric World University Ranking (UI GreenMetric) และด้านทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและการบริการเชิงนิเวศ ทั้งนี้ ผลการวิเคราะห์พบว่าลักษณะทางกายภาพของพื้นที่สีเขียวในปัจจุบันเอื้อต่อความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยมีพื้นที่เปิดโล่งถึงร้อยละ 75.68 ของพื้นที่มหาวิทยาลัย โดยเป็นพื้นที่ที่ปกคลุมด้วยพืชพรรณในลักษณะป่า 284,840 ตารางเมตร พืชปลูก 319,636 ตารางเมตร และพื้นที่ซึมน้ำ 245,509 ตารางเมตร พื้นที่สีเขียวเหล่านี้ประกอบด้วยพืชพรรณชนิดต่างๆ เป็นจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นไม้ใหญ่ ผลจากการศึกษาทัศนคติของผู้ส่วนส่วนเสียต่อการบริการเชิงนิเวศพบว่า ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการบริการเชิงนิเวศด้านการควบคุมและด้านการสนับสนุนเป็นหลัก ผลจากการวิเคราะห์นำไปสู่การเสนอแนะแนวทางการวางผังพื้นที่สีเขียวที่สามารถส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศต่างๆ ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-02-19","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอย่างไร? การวางผังพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศ\",\"authors\":\"วุฒิพงษ์ ทวีวงศ์, อรเอม ตั้งกิจงามวงศ์, ระภัสรา นาคะ พันธุ์อำไพ\",\"doi\":\"10.56261/jars.v18i2.243882\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"มหาวิทยาลัยสีเขียวเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับในมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก เนื่องจากมหาวิทยาลัยสีเขียวสามารถแสดงให้เห็นถึงหลักการสำคัญพื้นฐานของมหาวิทยาลัยที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งที่ให้ความสำคัญกับการนำ แนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะการวางผังพื้นที่สีเขียวที่ส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศ โดยมีกระบวนการการศึกษาลักษณะพื้นที่สีเขียวของมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน ผ่านการสำรวจและเก็บข้อมูลทั้งในด้านกายภาพที่สอดคล้องกับดัชนีมหาวิทยาลัยสีเขียว UI Green Metric World University Ranking (UI GreenMetric) และด้านทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและการบริการเชิงนิเวศ ทั้งนี้ ผลการวิเคราะห์พบว่าลักษณะทางกายภาพของพื้นที่สีเขียวในปัจจุบันเอื้อต่อความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยมีพื้นที่เปิดโล่งถึงร้อยละ 75.68 ของพื้นที่มหาวิทยาลัย โดยเป็นพื้นที่ที่ปกคลุมด้วยพืชพรรณในลักษณะป่า 284,840 ตารางเมตร พืชปลูก 319,636 ตารางเมตร และพื้นที่ซึมน้ำ 245,509 ตารางเมตร พื้นที่สีเขียวเหล่านี้ประกอบด้วยพืชพรรณชนิดต่างๆ เป็นจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นไม้ใหญ่ ผลจากการศึกษาทัศนคติของผู้ส่วนส่วนเสียต่อการบริการเชิงนิเวศพบว่า ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการบริการเชิงนิเวศด้านการควบคุมและด้านการสนับสนุนเป็นหลัก ผลจากการวิเคราะห์นำไปสู่การเสนอแนะแนวทางการวางผังพื้นที่สีเขียวที่สามารถส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศต่างๆ ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"1 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2021-02-19\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v18i2.243882\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i2.243882","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

绿色大学是世界各地大学所接受的概念。由于绿色大学可以体现环境和可持续发展大学的基本原则,农业大学非常重视这一概念的应用,特别是促进生态服务的绿色空间规划。通过调查和收集数据,可以发现,在物理上与绿色大学指数和生态服务利益相关者的态度相一致的情况下,当前的绿色空间特征有利于绿色大学的发展。森林植被覆盖面积为284,840平方米,植被面积为319,636平方米,渗水面积为245,509平方米,这些绿色区域由许多植被组成,特别是大树。通过分析结果,提出了在潜在地区推广生态服务的绿色空间规划建议。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอย่างไร? การวางผังพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศ
มหาวิทยาลัยสีเขียวเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับในมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลก เนื่องจากมหาวิทยาลัยสีเขียวสามารถแสดงให้เห็นถึงหลักการสำคัญพื้นฐานของมหาวิทยาลัยที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งที่ให้ความสำคัญกับการนำ แนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะการวางผังพื้นที่สีเขียวที่ส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศ โดยมีกระบวนการการศึกษาลักษณะพื้นที่สีเขียวของมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน ผ่านการสำรวจและเก็บข้อมูลทั้งในด้านกายภาพที่สอดคล้องกับดัชนีมหาวิทยาลัยสีเขียว UI Green Metric World University Ranking (UI GreenMetric) และด้านทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวและการบริการเชิงนิเวศ ทั้งนี้ ผลการวิเคราะห์พบว่าลักษณะทางกายภาพของพื้นที่สีเขียวในปัจจุบันเอื้อต่อความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยมีพื้นที่เปิดโล่งถึงร้อยละ 75.68 ของพื้นที่มหาวิทยาลัย โดยเป็นพื้นที่ที่ปกคลุมด้วยพืชพรรณในลักษณะป่า 284,840 ตารางเมตร พืชปลูก 319,636 ตารางเมตร และพื้นที่ซึมน้ำ 245,509 ตารางเมตร พื้นที่สีเขียวเหล่านี้ประกอบด้วยพืชพรรณชนิดต่างๆ เป็นจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นไม้ใหญ่ ผลจากการศึกษาทัศนคติของผู้ส่วนส่วนเสียต่อการบริการเชิงนิเวศพบว่า ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการบริการเชิงนิเวศด้านการควบคุมและด้านการสนับสนุนเป็นหลัก ผลจากการวิเคราะห์นำไปสู่การเสนอแนะแนวทางการวางผังพื้นที่สีเขียวที่สามารถส่งเสริมการบริการเชิงนิเวศต่างๆ ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信