{"title":"การเปิดรับแสงธรรมชาติในโถงกึ่งเปิดโล่งเพื่อความยั่งยืน: กรณีศึกษา อาคารสถานศึกษาย่านชานเมืองกรุงเทพมหานคร","authors":"ทรงพล อัตถากร","doi":"10.56261/jars.v18i1.240105","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"เมื่อแสงธรรมชาติภายในโถงกึ่งเปิดโล่งในอาคารเรียนที่ดี สามารถส่งเสริมประสิทธิภาพในการเรียนรู้ การมีสุขภาวะที่ดี และการลดการใช้พลังงาน ดังนั้น การศึกษาถึงการเปิดรับแสงธรรมชาติที่มีคุณภาพจึงมีความสำคัญต่อแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อความยั่งยืน การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาความสัมพันธ์ของรูปแบบทางกายภาพของอาคารที่มีผลต่อคุณภาพของแสงธรรมชาติภายในโถง ขั้นตอนวิจัยเริ่มจากการวิเคราะห์กรณีศึกษาจำนวน 4 อาคาร เพื่อศึกษารูปแบบทางกายภาพ ได้แก่ ลักษณะช่องเปิดรับแสงธรรมชาติ สัดส่วนช่องโถง และองค์ประกอบภายในของโถง และประเมินแสงธรรมชาติที่เกิดขึ้นภายในโถงกรณีศึกษาโดยการจำลองในคอมพิวเตอร์ ต่อจากนั้นศึกษาเปรียบเทียบผลคุณภาพของแสงสว่างภายในกรณีศึกษา เพื่อความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับผลจากการประเมินแสงธรรมชาติ และสุดท้ายเสนอแนะแนวทางในการเปิดรับแสงธรรมชาติในโถงกึ่งเปิดโล่ง โดยมีดัชนีชี้วัดที่สำคัญ ได้แก่ ค่าความสว่าง ค่าความส่องสว่าง ค่าความสม่ำเสมอของแสง ค่าตัวประกอบแสงธรรมชาติ ค่า UDI ค่า sDA ค่า ASE และค่า DGP ผลการวิจัย พบว่า 1) ช่องแสงหลังคาส่งผลต่อแสงสว่างภายในโถงมากที่สุด 2) ช่องแสงผนังในระดับพื้นโถงช่วยส่งเสริมความสม่ำเสมอของแสงภายในโถง 3) สัดส่วนช่องโถงมีผลโดยตรงต่อปริมาณและการกระจายของแสงภายในโถง 4) พื้นที่อับแสงและระดับการสะท้อนของผิวอาคารภายในโถง ส่งผลต่อความสม่ำเสมอของแสงภายในโถง 5) แสงภายในโถงที่เกินกว่า 3000 ลักซ์ มีผลต่อระดับค่าแสงบาดตาสูง และ 6) การประเมินแสงในระนาบแนวตั้งช่วยให้ได้ผลที่สมจริง และการจำลองแสงในรอบปีช่วยให้เห็นผลกระทบจากแสงตลอดทั้งปี ดังนั้นการออกแบบการรับแสงธรรมชาติภายในโถงกึ่งเปิดโล่งจึงควรคำนึงถึง 1) การลดผลกระทบจากรังสีดวงอาทิตย์ 2) การเปิดช่องแสงหลังคาให้สัมพันธ์กับสัดส่วนช่องโถง 3) การควบคุมการเกิดแสงบาดตาให้อยู่ในระดับต่ำ 4) การจัดองค์ประกอบภายในโถงและช่องเปิดให้กระจายแสงได้ทั่วถึง และ 5) การจัดพื้นที่ใช้สอยภายในโถงให้เหมาะกับแสงในแต่ละบริเวณ","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"25 9","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-01-20","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.240105","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
可持续发展的半开放大厅自然光开放:曼谷郊区建筑案例研究
当室内半开放式走廊的自然光照射到室内时,良好的学习环境可以促进学习效率、健康状况和减少能源消耗。因此,研究高质量的自然曝光对可持续建筑设计的指导意义重大。研究的目的是找出建筑的物理模式与走廊内自然光质量的关系。为了研究物理模式,包括自然光的通道特性、通道比例和内部组成,并通过计算机模拟来评估自然光。为了将物理特征与自然光评估结果相关联,最后提出了在半开放式大厅中自然曝光的建议,并提出了一个重要的指标。包括亮度、亮度、照度、自然光因子、UDI值、sDA值、基线值和DGP值。2)大堂水平面上的照明通道有助于促进大堂内照明的均匀性。3)大堂比例直接影响大堂内的光量和表面反射程度,影响大堂内的光均匀性。5)超过3000 lux的室内光量对高折射率水平有影响。6)垂直平面的光线评估有助于实现逼真的效果,并模拟全年的光线。因此,半开放式大厅的自然采光设计应考虑到1)太阳光线对立面比例的影响减少2)屋顶采光相对较低,4)将照明控制在低水平。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。