通过在清迈地区的绿地上传播冷空气,缓解热岛现象的潜力

พรรษวุฒิ นันทรัตน์, วันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ, อัจฉรา วัฒนภิญโญ
{"title":"通过在清迈地区的绿地上传播冷空气,缓解热岛现象的潜力","authors":"พรรษวุฒิ นันทรัตน์, วันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ, อัจฉรา วัฒนภิญโญ","doi":"10.56261/jars.v18i1.241605","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพในการบรรเทาปรากฏการณ์เกาะความร้อน ด้วยการแพร่กระจายความเย็นของพื้นที่สีเขียว ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ จำนวน 5 แห่งซึ่งมีขนาดที่แตกต่างกัน และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการแพร่กระจายความเย็น ประกอบด้วย สัดส่วนของพื้นผิวภายในพื้นที่สีเขียว ปัจจัยทางด้านภูมิอากาศ และปัจจัยทางด้านอัตราการมองเห็นท้องฟ้า (Sky View Factor) ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยทางด้านภูมิอากาศ และปัจจัยทางด้านสัดส่วนของพื้นผิวส่งผลต่อการแพร่กระจายความเย็นทำให้อุณหภูมิบริเวณโดยรอบลดลง โดยเฉพาะบริเวณสวนสุขภาพบ้านเด่น และสวนสุขภาพหนองบวกหาดที่มีพื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่สีเขียวจำนวนมาก สำหรับปัจจัยอัตราการมองเห็นท้องฟ้าพบว่ามีผลต่อการแพร่กระจายความเย็น และอุณหภูมิโดยรอบน้อย นอกจากนี้ยังพบว่าพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดเล็กจะมีการแพร่กระจายความเย็นได้น้อยกว่าพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญ่ โดยพื้นที่สีเขียวสวนสาธารณะรถไฟเป็นสวนขนาด 60.15 ไร่ มีศักยภาพในการแพร่กระจายความเย็นที่รัศมีโดยรอบ 75 -100 เมตร ในขณะที่พื้นที่สีเขียวสวนสุขภาพหนองบวกหาดที่มีขนาด 12.42 ไร่ มีศักยภาพในการแพร่กระจายความเย็นที่รัศมีโดยรอบ 25 -75 เมตร การแพร่กระจายความเย็นทำให้เกิดเกาะความเย็น (Park Cool Island) ทั้งในบริเวณพื้นที่สีเขียวและพื้นที่โดยรอบด้วย รวมถึงปัจจัยสัดส่วนของพื้นผิวภายในพื้นที่สีเขียวมีผลต่ออุณหภูมิ โดยพื้นที่สีเขียวที่มีสัดส่วนของพื้นผิวดาดอ่อนมากกว่าพื้นผิวดาดแข็งจะมีอุณหภูมิที่ต่ำและช่วยเสริมการแพร่กระจายความเย็นโดยรอบพื้นที่สีเขียว ส่งผลให้อุณหภูมิในระดับย่านลดลง","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"15 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-01-18","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ศักยภาพในการบรรเทาปรากฏการณ์เกาะความร้อนด้วยการแพร่กระจายความเย็นของพื้นที่สีเขียว ภายในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่\",\"authors\":\"พรรษวุฒิ นันทรัตน์, วันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ, อัจฉรา วัฒนภิญโญ\",\"doi\":\"10.56261/jars.v18i1.241605\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพในการบรรเทาปรากฏการณ์เกาะความร้อน ด้วยการแพร่กระจายความเย็นของพื้นที่สีเขียว ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ จำนวน 5 แห่งซึ่งมีขนาดที่แตกต่างกัน และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการแพร่กระจายความเย็น ประกอบด้วย สัดส่วนของพื้นผิวภายในพื้นที่สีเขียว ปัจจัยทางด้านภูมิอากาศ และปัจจัยทางด้านอัตราการมองเห็นท้องฟ้า (Sky View Factor) ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยทางด้านภูมิอากาศ และปัจจัยทางด้านสัดส่วนของพื้นผิวส่งผลต่อการแพร่กระจายความเย็นทำให้อุณหภูมิบริเวณโดยรอบลดลง โดยเฉพาะบริเวณสวนสุขภาพบ้านเด่น และสวนสุขภาพหนองบวกหาดที่มีพื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่สีเขียวจำนวนมาก สำหรับปัจจัยอัตราการมองเห็นท้องฟ้าพบว่ามีผลต่อการแพร่กระจายความเย็น และอุณหภูมิโดยรอบน้อย นอกจากนี้ยังพบว่าพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดเล็กจะมีการแพร่กระจายความเย็นได้น้อยกว่าพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญ่ โดยพื้นที่สีเขียวสวนสาธารณะรถไฟเป็นสวนขนาด 60.15 ไร่ มีศักยภาพในการแพร่กระจายความเย็นที่รัศมีโดยรอบ 75 -100 เมตร ในขณะที่พื้นที่สีเขียวสวนสุขภาพหนองบวกหาดที่มีขนาด 12.42 ไร่ มีศักยภาพในการแพร่กระจายความเย็นที่รัศมีโดยรอบ 25 -75 เมตร การแพร่กระจายความเย็นทำให้เกิดเกาะความเย็น (Park Cool Island) ทั้งในบริเวณพื้นที่สีเขียวและพื้นที่โดยรอบด้วย รวมถึงปัจจัยสัดส่วนของพื้นผิวภายในพื้นที่สีเขียวมีผลต่ออุณหภูมิ โดยพื้นที่สีเขียวที่มีสัดส่วนของพื้นผิวดาดอ่อนมากกว่าพื้นผิวดาดแข็งจะมีอุณหภูมิที่ต่ำและช่วยเสริมการแพร่กระจายความเย็นโดยรอบพื้นที่สีเขียว ส่งผลให้อุณหภูมิในระดับย่านลดลง\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"15 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2021-01-18\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.241605\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v18i1.241605","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

这篇文章的目的是研究5个不同大小的绿色区域的降温潜力,并研究了影响绿色区域表面比例和天空能见度的因素。特别是主要的家庭健康公园和脓毒症花园,加上周围的海滩,大量的绿色区域。对于天空能见度的影响因素,还发现较小的绿色区域比较大的绿色区域更少的冷却分布。铁路公园占地面积为60.15公顷,具有在75 -100米范围内传播低温的潜力。与此同时,绿色区域、健康花园加上12.42公顷的海滩有可能在25 -75米范围内传播凉爽。在绿色区域和周围区域,以及绿色区域内表面的比例因素对温度的影响。浅甲板表面比硬甲板表面占比较大的绿色区域温度较低,有助于绿色区域周围的冷扩散,导致区域温度下降。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
ศักยภาพในการบรรเทาปรากฏการณ์เกาะความร้อนด้วยการแพร่กระจายความเย็นของพื้นที่สีเขียว ภายในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพในการบรรเทาปรากฏการณ์เกาะความร้อน ด้วยการแพร่กระจายความเย็นของพื้นที่สีเขียว ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ จำนวน 5 แห่งซึ่งมีขนาดที่แตกต่างกัน และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการแพร่กระจายความเย็น ประกอบด้วย สัดส่วนของพื้นผิวภายในพื้นที่สีเขียว ปัจจัยทางด้านภูมิอากาศ และปัจจัยทางด้านอัตราการมองเห็นท้องฟ้า (Sky View Factor) ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยทางด้านภูมิอากาศ และปัจจัยทางด้านสัดส่วนของพื้นผิวส่งผลต่อการแพร่กระจายความเย็นทำให้อุณหภูมิบริเวณโดยรอบลดลง โดยเฉพาะบริเวณสวนสุขภาพบ้านเด่น และสวนสุขภาพหนองบวกหาดที่มีพื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่สีเขียวจำนวนมาก สำหรับปัจจัยอัตราการมองเห็นท้องฟ้าพบว่ามีผลต่อการแพร่กระจายความเย็น และอุณหภูมิโดยรอบน้อย นอกจากนี้ยังพบว่าพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดเล็กจะมีการแพร่กระจายความเย็นได้น้อยกว่าพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญ่ โดยพื้นที่สีเขียวสวนสาธารณะรถไฟเป็นสวนขนาด 60.15 ไร่ มีศักยภาพในการแพร่กระจายความเย็นที่รัศมีโดยรอบ 75 -100 เมตร ในขณะที่พื้นที่สีเขียวสวนสุขภาพหนองบวกหาดที่มีขนาด 12.42 ไร่ มีศักยภาพในการแพร่กระจายความเย็นที่รัศมีโดยรอบ 25 -75 เมตร การแพร่กระจายความเย็นทำให้เกิดเกาะความเย็น (Park Cool Island) ทั้งในบริเวณพื้นที่สีเขียวและพื้นที่โดยรอบด้วย รวมถึงปัจจัยสัดส่วนของพื้นผิวภายในพื้นที่สีเขียวมีผลต่ออุณหภูมิ โดยพื้นที่สีเขียวที่มีสัดส่วนของพื้นผิวดาดอ่อนมากกว่าพื้นผิวดาดแข็งจะมีอุณหภูมิที่ต่ำและช่วยเสริมการแพร่กระจายความเย็นโดยรอบพื้นที่สีเขียว ส่งผลให้อุณหภูมิในระดับย่านลดลง
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信