Suranaree Journal of Social Science最新文献

筛选
英文 中文
การกำหนดโครงสร้างเงินทุนในอุตสาหกรรมบริการภายใต้สถานการณ์โควิด-19 在Covid -19的情况下,服务行业的资本结构确定。
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-11-22 DOI: 10.55766/txgy1964
โชษิตา เปสตันยี
{"title":"การกำหนดโครงสร้างเงินทุนในอุตสาหกรรมบริการภายใต้สถานการณ์โควิด-19","authors":"โชษิตา เปสตันยี","doi":"10.55766/txgy1964","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/txgy1964","url":null,"abstract":"การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยด้านคุณลักษณะเฉพาะของกิจการที่ส่งผลต่อโครงสร้างเงินทุน และ 2) วิเคราะห์อิทธิพลของโครงสร้างเงินทุนที่ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไร กลุ่มตัวอย่างคืออุตสาหกรรมบริการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจำนวน 99 ตัวอย่าง โดยศึกษาในช่วงก่อนโรคโควิด-19 ระบาด และในช่วงระหว่างโรคโควิด-19 ระบาด ผลการศึกษาพบว่า กิจการที่มีสินทรัพย์ที่มีตัวตนในปริมาณสูง มีโอกาสในการเติบโตสูง และขนาดของกิจการที่ใหญ่ ส่งผลให้กิจการมีความสามารถในการก่อหนี้ที่สูงขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า กิจการที่มีหนี้สินในปริมาณต่ำส่งผลให้ความสามารถในการทำกำไรของกิจการสูงขึ้น และผลการศึกษาครั้งนี้ได้ข้อสรุปว่าในช่วงก่อนโรคโควิด-19 ระบาด และภายใต้สถานการณ์ที่มีโควิด-19 ระบาด อุตสาหกรรมบริการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีความระมัดระวังในการก่อหนี้ และเน้นการรักษาโครงสร้างการเป็นเจ้าของในโครงสร้างเงินทุนของกิจการ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-11-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"129568950","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสเชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ 在南方高等教育中,积极主动的法语教学的管理问题。
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-11-22 DOI: 10.55766/cyhw5075
ศิริมา ปุรินทราภิบาล, เกศินี ชัยศรี
{"title":"ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสเชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้","authors":"ศิริมา ปุรินทราภิบาล, เกศินี ชัยศรี","doi":"10.55766/cyhw5075","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/cyhw5075","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ใช้เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสังเกตการสอน กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) กลุ่มประชากรครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 28 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ ครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 15 คนที่คัดเลือกมาแบบสมัครใจสำหรับการสังเกตการสอน และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  5 และ 6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา 20 แห่งใน 14 จังหวัดภาคใต้ จำนวน 655 คน ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 655 คนและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง โดยให้ครูเป็นผู้คัดเลือกโรงเรียนละ 33 คน แบบสอบถามที่สมบูรณ์สามารถนำมาประมวลผลได้มีจำนวน 601 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.75 เนื่องจากบางโรงเรียนมีจำนวนนักเรียนในบางระดับชั้นน้อยกว่าที่กำหนดไว้ และให้ครูผู้สอนภาษาฝรั่งเศสคัดเลือกนักเรียนจากกลุ่มตัวอย่างข้างต้นโรงเรียนละ 3 คนสำหรับการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็นหลักคือ ปัญหาเกี่ยวกับครู เช่น มีภาระงานสอนและงานอื่น ๆ มากทำให้ไม่มีเวลาเตรียมการสอน ขาดความชำนาญและประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสไม่ดีพอ ใช้สื่อการสอน บางประเภทไม่ได้ ขาดครูเจ้าของภาษา ปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียนเช่น นักเรียนไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ขาดทักษะการศึกษาค้นคว้า ขาดทักษะพื้นฐานในการแสดงความเป็นเหตุเป็นผล ขาดความรับผิดชอบ ขาดความสามัคคี ไม่มีแรงจูงใจในการเรียน ความรู้พื้นฐานภาษาฝรั่งเศสน้อย  และปัญหาเกี่ยวกับสื่อและอุปกรณ์การสอน เช่น สื่อเทคโนโลยีไม่เพียงพอ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และช้ามาก ห้องเรียนไม่พร้อมสำหรับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"169 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-11-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"122048923","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
An Assessment of E-Service Quality for Online Food Delivery Services in Yangon, Myanmar 缅甸仰光在线食品配送服务的电子服务质量评估
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-11-14 DOI: 10.55766/fbuy4386
Ma Eaint
{"title":"An Assessment of E-Service Quality for Online Food Delivery Services in Yangon, Myanmar","authors":"Ma Eaint","doi":"10.55766/fbuy4386","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/fbuy4386","url":null,"abstract":"       The purpose of this study is to understand the relationship between e-service quality and customer satisfaction, the trust and revisit intentions toward potential businesses, for Online Food Delivery services in Yangon, Myanmar. This study assesses e-service quality to examine its influence on customer satisfaction and trust. Also, the study explores the relationship between customer satisfaction, and trust and revisit intentions towards Online Food Delivery services. Regression analysis was used to find the relationship between the variables. The findings reveal that Fulfillment (FUL) has the strongest influence on customer satisfaction and that Contact (CON) is the strongest predictor of customer trust. Likewise, customer’s satisfaction and trust have a positive relationship with customer intention to visit Online Food Delivery services again. Therefore, online food delivery service providers should focus on fulfilling customer satisfaction by providing a user-friendly app. Also, they should improve customer service and ensure customers’ needs are fulfilled in order to increase customer satisfaction. Finally, they should focus on trust which leads to customers revisiting the service.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"19 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-11-14","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"132946564","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
An Importance-performance Analysis of Chinese Tourists’ Perceived Risk in Thailand 中国游客赴泰国旅游感知风险的重要性-绩效分析
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-09-07 DOI: 10.55766/rcxc8198
Lertporn Parasakul
{"title":"An Importance-performance Analysis of Chinese Tourists’ Perceived Risk in Thailand","authors":"Lertporn Parasakul","doi":"10.55766/rcxc8198","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/rcxc8198","url":null,"abstract":"This research paper examined Chinese tourists’ perceived importance and performance risk in Thailand using an Importance-Performance Analysis (IPA). The factor analysis classified 24 risk attributes into 5 dimensions of risk: Social risk, Satisfaction risk, Service/performance risk, Physical risk, and Political/financial risk. The IPA grids illustrated that the Satisfaction risk fell into the Concentrate Here quadrant; Physical and Service/performance risks in the Keep Up the Good Work quadrant; Social risk in the Low Priority quadrant; and Political/financial risk in the Possible Overkill quadrant. Implications for tourism management, tourism planners and industry were discussed.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"123 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-09-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"134179017","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
The Ethics of Sports Fandom By Adam Kadlac 《体育迷的伦理》作者:Adam Kadlac
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-06-28 DOI: 10.55766/cxiq2372
Theptawee Chokvasin
{"title":"The Ethics of Sports Fandom By Adam Kadlac","authors":"Theptawee Chokvasin","doi":"10.55766/cxiq2372","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/cxiq2372","url":null,"abstract":"<jats:p>-</jats:p>","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"21 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-06-28","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"117034601","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
The Role of Partnership Quality, Trust, Perceived Commitment and Perceived Risk on Successful Outsourcing Relationship 伙伴关系质量、信任、感知承诺和感知风险对成功外包关系的影响
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-06-15 DOI: 10.55766/hruk4070
Prasert Sutthiparinyanon, Jenette Villegas Puyod
{"title":"The Role of Partnership Quality, Trust, Perceived Commitment and Perceived Risk on Successful Outsourcing Relationship","authors":"Prasert Sutthiparinyanon, Jenette Villegas Puyod","doi":"10.55766/hruk4070","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/hruk4070","url":null,"abstract":"This paper proposes the moderating role of perceived risk on the impact of partnership quality, trust and perceived towards successful outsourcing relationship of airconditioning system maintenance service for hotels in Thailand. A total of 528 questionnaires were distributed and 489 filled surveys were usable (92.61%) for quantitative analysis. The data collection process was completed within three months between July-September 2021. Data were collected through online and onsite survey process, and analyzed through Partial Least Squares Structural Equation Modeling. The result of PLS-SEM analysis confirmed that partnership quality, trust and perceived commitment has positive impact on outsourcing relationship. On the other hand, perceived risk moderates the relationship between partnership quality, trust, perceived commitment and successful outsourcing relationship. Discussion and limitation are discussed in this paper.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"53 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-06-15","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"131758946","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ข้าวอินทรีย์บรรจุถุง: พฤติกรรมการซื้อและปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในจังหวัดพัทลุง 有机大米包装袋:泰国帕帕省的购买行为和成本因素
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-06-15 DOI: 10.55766/oogd9633
ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์
{"title":"ข้าวอินทรีย์บรรจุถุง: พฤติกรรมการซื้อและปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในจังหวัดพัทลุง","authors":"ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์","doi":"10.55766/oogd9633","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/oogd9633","url":null,"abstract":"ปัจจุบันผู้บริโภคมีความต้องการซื้อข้าวอินทรีย์บรรจุถุงเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากความใส่ใจต่อสุขภาพและนโยบายเกษตรอินทรีย์ ขณะที่เกษตรกรผู้ผลิตข้าวอินทรีย์บรรจุถุงยังเผชิญข้อจำกัดหลายประการ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทางเศรษฐสังคมประชากรและพฤติกรรมการซื้อข้าวอินทรีย์บรรจุถุงของผู้บริโภค 2) ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดข้าวอินทรีย์บรรจุถุง และ 3) วิเคราะห์ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการซื้อข้าวอินทรีย์บรรจุถุงของผู้บริโภคในจังหวัดพัทลุง การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามเชิงโครงสร้างกับกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจำนวน 440 ราย ซึ่งใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยพหุเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งเป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 49.40 ปี มีรายได้เฉลี่ย 14,920.00 บาทต่อเดือน ซื้อข้าวอินทรีย์บรรจุถุงจากร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม และมีค่าใช้จ่ายในการซื้อข้าวอินทรีย์บรรจุถุงเฉลี่ย 478.33 บาทต่อครั้ง ส่วนประสมทางการตลาดข้าวอินทรีย์บรรจุถุงด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสำคัญในระดับมาก คุณภาพของสินค้าเป็นเพียงประเด็นเดียวที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดและมีความสำคัญในระดับมากที่สุด อายุเป็นเพียงปัจจัยเดียวที่กำหนดค่าใช้จ่ายในการซื้อข้าวอินทรีย์บรรจุถุงเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในทางตรงกันข้ามปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการซื้อข้าวอินทรีย์บรรจุถุงเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อาชีพหลัก รายได้ ปัญหาสุขภาพ กลุ่มอ้างอิง และปริมาณการซื้อข้าวอินทรีย์บรรจุถุง ผลการวิจัยที่ได้เสนอแนะให้เกษตรกรผู้ผลิตข้าวอินทรีย์บรรจุถุงใช้กลยุทธ์ “คิก” เพื่อสร้างคุณค่าทางสุขภาพและความสะดวกให้แก่ผู้บริโภค","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"212 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-06-15","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"121452277","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
รูปแบบการสื่อสารสำหรับการดำเนินชีวิตแบบวิถีปกติใหม่ในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา 在Nakhon Ratchasima地区,一种新的正常生活方式的交流方式。
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-06-07 DOI: 10.55766/eiyf2789
สุชาดา น้ำใจดี, วรัชยา เชื้อจันทึก
{"title":"รูปแบบการสื่อสารสำหรับการดำเนินชีวิตแบบวิถีปกติใหม่ในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา","authors":"สุชาดา น้ำใจดี, วรัชยา เชื้อจันทึก","doi":"10.55766/eiyf2789","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/eiyf2789","url":null,"abstract":"การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารสำหรับพัฒนารูปแบบด้านการดำเนินชีวิตภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของคนเมืองนครราชสีมา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์การคัดเข้า จำนวน 75 คนโดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) กลุ่มองค์กรภาครัฐ ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย  2) กลุ่มองค์กรภาคเอกชน ได้แก่ ผู้บริหารที่ดูแลงานด้านการสื่อสารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และ 3) กลุ่มประชาชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน เช่น ประธานชุมชน กำนัน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และประชาชนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอเมืองนครราชสีมา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้ส่งสาร ด้านสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านผู้รับสาร โดยคัดเลือกจากผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.50 ขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 62 ข้อ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบกลุ่มและสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหา จำแนก ตีความ สังเคราะห์ และนำเสนอด้วยการพรรณนาวิเคราะห์\u0000ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้ส่งสารได้ส่งสารเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ อาการ และการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จนนำไปสู่การดำเนินชีวิตในรูปแบบวิถิปกติใหม่ผ่านช่องทางการสื่อสารโดยใช้สื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อหนังสือพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อเสียงตามสายในพื้นที่ สื่ออินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ และสื่อบุคคล ไปยังประชาชนซึ่งเป็นผู้รับสาร นำมาซึ่งวิธีปฏิบัติตัวและช่วยลดความเสี่ยง อันประกอบไปด้วย วิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติ รวมไปถึงวิธีการจัดการชีวิตแบบใหม่เกิดขึ้น อาทิเช่น การประชุมกลุ่มย่อยผ่านระบบออนไลน์ การทำงานจากที่บ้าน การสั่งซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคผ่านระบบบริการออนไลน์ การทำธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบธนาคารแบบออนไลน์ และระบบการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นต้น","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"16 2 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-06-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"117318640","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ทบทวนหลักฐานงานศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่สีเขียวในเมืองกับสุขภาวะ 回顾研究城市绿地与健康状况之间关系的证据。
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-05-26 DOI: 10.55766/zlga8912
พิสิทธิ์ ตันติพิสิฐกุล, สัญญา ฉิมพิมล
{"title":"ทบทวนหลักฐานงานศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่สีเขียวในเมืองกับสุขภาวะ","authors":"พิสิทธิ์ ตันติพิสิฐกุล, สัญญา ฉิมพิมล","doi":"10.55766/zlga8912","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/zlga8912","url":null,"abstract":"ปัจจุบันการจัดการพื้นที่สีเขียวให้มีคุณภาพเป็นหนึ่งในปัจจัยที่เมืองต่าง ๆ ทั่วโลกต่างให้ความสำคัญ เนื่องจากมีหลักฐานทางการศึกษาที่เพิ่มขึ้นจำนวนมากในแต่ละปี ที่พบว่าพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองนั้นมีความสัมพันธ์กับสุขภาวะของมนุษย์ ทำให้พื้นที่สีเขียวเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัดสุขภาวะของผู้อยู่อาศัยในเมือง โดยเกณฑ์มาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนดไว้นั้นเมืองใหญ่ควรมีอัตราพื้นที่สีเขียวอย่างน้อย 9 ตารางเมตรต่อประชากร 1 คน ทว่าพื้นที่สีเขียวในเมืองนั้นมีจำกัด และมีแนวโน้มที่จะลดลงไปเรื่อย ๆ เนื่องจากการพัฒนาที่ดินอย่างรวดเร็ว และมูลค่าที่สูงขึ้นของที่ดินในเขตเมือง อีกทั้งหลายภาคส่วนในสังคมยังขาดความเข้าใจเชิงลึกทางด้านหลักฐานทางวิชาการแขนงต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความสำคัญ และประโยชน์ของพื้นที่สีเขียวในด้านสุขภาวะในบริบทของสังคมไทย บทความนี้ได้รวบรวมหลักฐานทางการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่สีเขียว กับ 1) ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม 2) การฟื้นฟูสุขภาพ 3)  การมีปฎิสัมพันธ์ทางสังคม และนำมาสรุปวิเคราะห์เพื่อสร้างความเข้าใจ เพื่อเป็นแนวทางต่อการวางแผนกำหนดนโยบาย ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนได้สามารถนำความรู้และผลสรุปไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวในเมืองให้ยั่งยืนต่อไป อีกทั้งยังระบุช่องว่างทางความรู้เพื่อเป็นแนวทางการศึกษาสำหรับผู้วิจัยได้ทำการศึกษาต่อไป","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"23 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-05-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"127399434","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการโต้แย้งเพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 在五年级学生的批判性思维和解决问题的能力中,进行批判性思维和辩论技巧的组织。
Suranaree Journal of Social Science Pub Date : 2022-05-24 DOI: 10.55766/dpjd3857
ปาริฉัตร ปานกลิ่น, ธิติยา บงกชเพชร
{"title":"การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการโต้แย้งเพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5","authors":"ปาริฉัตร ปานกลิ่น, ธิติยา บงกชเพชร","doi":"10.55766/dpjd3857","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/dpjd3857","url":null,"abstract":"การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการโต้แย้ง(ADI) ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหา เรื่อง พอลิเมอร์  และศึกษาผลการส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาหลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการโต้แย้ง  กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 21 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการโต้แย้งจำนวน 3 แผน แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้  ใบกิจกรรมและแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและสถิติบรรยายค่าเฉลี่ย  ร้อยละ  ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการโต้แย้งที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหา เรื่อง พอลิเมอร์  ควรใช้สถานการณ์ปัญหาใกล้ตัวในชีวิตประจำวันที่ไม่มีคำตอบชัดเจนเพื่อนำไปสู่การทดลองหรือการสืบค้น  ประเด็นข้อโต้แย้งต้องมีข้อขัดแย้งสองฝ่ายอย่างชัดเจนเพื่อใช้การกำหนดบทบาทสมมติในการโต้แย้ง  ควรชี้แจงองค์ประกอบการสร้างข้อโต้แย้งชั่วคราวให้ชัดเจน  เพิ่มเวลาในการเขียนรายงานและสร้างข้อตกลงในการตรวจสอบโดยเพื่อนและการปรับปรุงรายงานให้มากขึ้น  และ 2) นักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาในภาพรวมสูงขึ้นจากร้อยละ 57.13 เป็น 88.08 (ระดับน้อยเป็นระดับมาก)  และมีระดับความสามารถในแต่ละองค์ประกอบอยู่ในระดับมากทุกด้าน ทั้งด้านการให้เหตุผล  ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ด้านการประเมินและตัดสินใจ  และด้านการแก้ปัญหา","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"29 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-05-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"129338029","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
相关产品
×
本文献相关产品
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信