{"title":"在南方高等教育中,积极主动的法语教学的管理问题。","authors":"ศิริมา ปุรินทราภิบาล, เกศินี ชัยศรี","doi":"10.55766/cyhw5075","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ใช้เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสังเกตการสอน กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) กลุ่มประชากรครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 28 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ ครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 15 คนที่คัดเลือกมาแบบสมัครใจสำหรับการสังเกตการสอน และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 5 และ 6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา 20 แห่งใน 14 จังหวัดภาคใต้ จำนวน 655 คน ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 655 คนและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง โดยให้ครูเป็นผู้คัดเลือกโรงเรียนละ 33 คน แบบสอบถามที่สมบูรณ์สามารถนำมาประมวลผลได้มีจำนวน 601 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.75 เนื่องจากบางโรงเรียนมีจำนวนนักเรียนในบางระดับชั้นน้อยกว่าที่กำหนดไว้ และให้ครูผู้สอนภาษาฝรั่งเศสคัดเลือกนักเรียนจากกลุ่มตัวอย่างข้างต้นโรงเรียนละ 3 คนสำหรับการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็นหลักคือ ปัญหาเกี่ยวกับครู เช่น มีภาระงานสอนและงานอื่น ๆ มากทำให้ไม่มีเวลาเตรียมการสอน ขาดความชำนาญและประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสไม่ดีพอ ใช้สื่อการสอน บางประเภทไม่ได้ ขาดครูเจ้าของภาษา ปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียนเช่น นักเรียนไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ขาดทักษะการศึกษาค้นคว้า ขาดทักษะพื้นฐานในการแสดงความเป็นเหตุเป็นผล ขาดความรับผิดชอบ ขาดความสามัคคี ไม่มีแรงจูงใจในการเรียน ความรู้พื้นฐานภาษาฝรั่งเศสน้อย และปัญหาเกี่ยวกับสื่อและอุปกรณ์การสอน เช่น สื่อเทคโนโลยีไม่เพียงพอ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และช้ามาก ห้องเรียนไม่พร้อมสำหรับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"169 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-11-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสเชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้\",\"authors\":\"ศิริมา ปุรินทราภิบาล, เกศินี ชัยศรี\",\"doi\":\"10.55766/cyhw5075\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ใช้เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสังเกตการสอน กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) กลุ่มประชากรครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 28 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ ครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 15 คนที่คัดเลือกมาแบบสมัครใจสำหรับการสังเกตการสอน และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 5 และ 6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา 20 แห่งใน 14 จังหวัดภาคใต้ จำนวน 655 คน ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 655 คนและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง โดยให้ครูเป็นผู้คัดเลือกโรงเรียนละ 33 คน แบบสอบถามที่สมบูรณ์สามารถนำมาประมวลผลได้มีจำนวน 601 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.75 เนื่องจากบางโรงเรียนมีจำนวนนักเรียนในบางระดับชั้นน้อยกว่าที่กำหนดไว้ และให้ครูผู้สอนภาษาฝรั่งเศสคัดเลือกนักเรียนจากกลุ่มตัวอย่างข้างต้นโรงเรียนละ 3 คนสำหรับการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็นหลักคือ ปัญหาเกี่ยวกับครู เช่น มีภาระงานสอนและงานอื่น ๆ มากทำให้ไม่มีเวลาเตรียมการสอน ขาดความชำนาญและประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสไม่ดีพอ ใช้สื่อการสอน บางประเภทไม่ได้ ขาดครูเจ้าของภาษา ปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียนเช่น นักเรียนไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ขาดทักษะการศึกษาค้นคว้า ขาดทักษะพื้นฐานในการแสดงความเป็นเหตุเป็นผล ขาดความรับผิดชอบ ขาดความสามัคคี ไม่มีแรงจูงใจในการเรียน ความรู้พื้นฐานภาษาฝรั่งเศสน้อย และปัญหาเกี่ยวกับสื่อและอุปกรณ์การสอน เช่น สื่อเทคโนโลยีไม่เพียงพอ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และช้ามาก ห้องเรียนไม่พร้อมสำหรับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"169 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-11-22\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/cyhw5075\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/cyhw5075","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0