Journal Of Technical Education Development最新文献

筛选
英文 中文
ระดับความสุขในการเรียนยุควิถีชีวิตใหม่ของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง ระดับความสุขในการเรียนยุควิถีชีวิตใหม่ของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2024-03-01 DOI: 10.14416/j.ted.2024.03.007
อรอุมา ธรรมดี
{"title":"ระดับความสุขในการเรียนยุควิถีชีวิตใหม่ของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง","authors":"อรอุมา ธรรมดี","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.007","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.007","url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ 2) ศึกษาระดับความสุขในการเรียนยุควิถีชีวิตใหม่ของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ และ 3) เปรียบเทียบระดับความสุขในการเรียนยุควิถีชีวิตใหม่ของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ จำแนกตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง จำนวน 187 คน โดยเลือกสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง และสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 55.61 เป็นเพศหญิง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในช่วง 3.51-4.00 คิดเป็นร้อยละ 51.87 โดยผู้ปกครองของนักเรียนมีการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 57.22 ซึ่งรายได้ของครอบครัวอยู่ที่ประมาณเดือนละมากกว่า 30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 52.94 และผู้ปกครองของนักเรียนรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 24.60 2) ระดับความสุขในการเรียนยุควิถีชีวิตใหม่ของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีความสุขอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การมองโลกใน รองลงมาคือ ด้านความสามารถในการปรับตัวเข้ากับบรรยากาศในการเรียน และน้อยที่สุดคือ ด้านความภูมิใจในตนเอง และ 3) การเปรียบเทียบระดับความสุขในการเรียนยุควิถีชีวิตใหม่ของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ จำแนกตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า นักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน มีระดับความสุขในการเรียนยุควิถีชีวิตใหม่ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"32 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140400806","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป การพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2024-03-01 DOI: 10.14416/j.ted.2024.03.004
วิจิตรา สรรพอาษา, ธีรวัช บุณยโสภณ, สุภัททา ปิณฑะแพทย์, ปรีดา อัตวินิจตระการ
{"title":"การพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป","authors":"วิจิตรา สรรพอาษา, ธีรวัช บุณยโสภณ, สุภัททา ปิณฑะแพทย์, ปรีดา อัตวินิจตระการ","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.004","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.004","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป 2) เพื่อพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป และ 3) เพื่อจัดทำคู่มือแนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบผสมผสานการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยผู้ให้ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ นักวิชาการ ผู้ประกอบการ ผู้บริหาร ในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป เครื่องมือในงานวิจัยที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง และการประชุมสนทนากลุ่ม ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผู้ให้ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ผู้ประกอบการ ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญด้านธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป จำนวน 350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ชุดแบบสอบถาม ใช้วิธีการวิเคราะห์ด้วยสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูปประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อย ดังนี้ 1) การบริหารธุรกิจประกอบด้วย ทรัพยากรมนุษย์ การควบคุมต้นทุน การบริหารองค์กร และโลจิสติกส์ 2) การผลิต ประกอบด้วย กระบวนการ และการตรวจสอบคุณภาพ 3) การตลาด ประกอบด้วย การนำเสนอสินค้า และการกระตุ้นยอดขาย 4) อัตลักษณ์ตราสินค้า ประกอบด้วย การสร้างความแตกต่าง และการสร้างมูลค่าสินค้า 5) การออกแบบ ประกอบด้วย การออกแบบเฉพาะกลุ่ม และการออกแบบตามเทรนด์แฟชั่น 6) ภาวะผู้นำประกอบด้วย จริยธรรม และนวัตกรรม 7) มนุษยสัมพันธ์ ประกอบด้วย ความสัมพันธ์ภายในองค์กร และความสัมพันธ์ภายนอกองค์กร คู่มือแนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูปประกอบด้วย 2 ส่วนดังนี้ 1) การแนะนำคู่มือ 2) แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป รูปแบบศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูปได้รับความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในการประชุมสนทนากลุ่ม และคู่มือแนวทางการพัฒนาพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มสำเร็จรูป ได้รับการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญโดยภาพรวม และมีความเหมาะสมในระดับร้อยละ 90","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"116 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140406712","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาเครื่องมือประเมินสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ของนักศึกษาครูคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา การพัฒนาเครื่องมือประเมินสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ของนักศึกษาครูคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2024-03-01 DOI: 10.14416/j.ted.2024.03.014
กรรณิการ์ ภิรมย์รัตน์
{"title":"การพัฒนาเครื่องมือประเมินสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ของนักศึกษาครูคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา","authors":"กรรณิการ์ ภิรมย์รัตน์","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.014","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.014","url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือประเมินสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน และนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนัน จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับข้อคำถาม (IOC) และแบบประเมินสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งเป็นแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดับ จำนวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพ ได้แก่ ค่า IOC และค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่า () ผลการศึกษาพบว่า 1) ค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบประเมินสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาครู มีค่าอยู่ระหว่าง 0.80 – 1.00 ซึ่งมีค่าผ่านเกณฑ์ทุกรายการสามารถนำแบบประเมินสมรรถนะไปใช้ประเมินการสร้างนวัตกรรมของนักศึกษาได้ 2) ค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาครู โดยเป็นการตรวจสอบความเชื่อมั่นด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha coefficient) ทั้งฉบับเท่ากับ 0.850 ซึ่งสามารถนำแบบประเมินไปใช้ได้","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"276 6","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140402377","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2024-03-01 DOI: 10.14416/j.ted.2024.03.010
พชรพงษ์ โพธิ์น้อย, ธนภพ โสตรโยม
{"title":"ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี","authors":"พชรพงษ์ โพธิ์น้อย, ธนภพ โสตรโยม","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.010","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.010","url":null,"abstract":"การศึกษาวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี 2) ศึกษาความสำคัญกับการตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความสำคัญกับการตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี จำนวน 148 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า 1) ข้อมูลทั่วไปของของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 16-18 ปี โดยมีเกรดเฉลี่ยสะสม 3.51ขึ้นไป ซึ่งกำลังเรียนในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ และนักเรียนมีรายรับต่อเดือนประมาณ 501-1,000 บาท 2) ผู้เรียนให้ความสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี ทั้ง 7 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการประกอบอาชีพ ด้านภาพลักษณ์ของวิทยาลัย ด้านสภาพแวดล้อมของวิทยาลัย ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านครูผู้สอน ด้านหลักสูตร และด้านสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ที่สนับสนุนการสอน และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามกับการตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี พบว่า เพศ และอายุ มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาคหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี นอกนั้นไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"65 2","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140403356","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาสภาพการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาของเด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่โรงเรียนอนุบาลของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษาสภาพการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาของเด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่โรงเรียนอนุบาลของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2024-03-01 DOI: 10.14416/j.ted.2024.03.013
บุญญลักษม์ ตำนานจิตร, สายสุดา ปั้นตระกูล
{"title":"การศึกษาสภาพการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาของเด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่โรงเรียนอนุบาลของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น","authors":"บุญญลักษม์ ตำนานจิตร, สายสุดา ปั้นตระกูล","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.013","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.013","url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาของเด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่โรงเรียนอนุบาลของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้ดูแลเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในงานวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ และใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์คำถามปลายเปิด ผลการวิจัยพบว่า ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัย มีประสบการณ์การทำงานดูแลเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 10 ปีขึ้นไป และสังกัดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขนาดเล็ก ไม่เกิน 50 คน การดำเนินการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษา พบว่า ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการช่วยเหลือเด็กเล็กในการปรับตัวทางสังคมและความพร้อมทางการเรียนเพื่อเข้าสู่ระดับอนุบาล โดยการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพื้นฐานและเตรียมความพร้อมสู่ระดับอนุบาลให้กับเด็กเล็ก","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"4 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140404111","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับการรับรู้การบริหารจัดการและการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับงานบริการวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับการรับรู้การบริหารจัดการและการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับงานบริการวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2024-03-01 DOI: 10.14416/j.ted.2024.03.015
บุญญรัตน์ ม่วงเนย
{"title":"การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับการรับรู้การบริหารจัดการและการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับงานบริการวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ","authors":"บุญญรัตน์ ม่วงเนย","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.015","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.015","url":null,"abstract":"วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ทำขึ้นเพื่อศึกษาระดับการรับรู้การบริหารจัดการและระดับการปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานบริการวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ อีกทั้งปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบ โดยการรวบรวมข้อมูล เอกสาร ดำเนินการกำหนดกลุ่มประชากร ออกแบบและสร้างเครื่องมือแบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล และนำข้อมูลมาวิเคราะห์สถิติโดยโปรแกรมสำเร็จรูปคำนวณเป็นค่าสถิติต่าง ๆ และวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ที่ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติที่ร้อยละ 95 (p-value < 0.05) โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากร 122 ราย พบว่า ภาพรวมระดับการรับรู้การบริหารจัดการเกี่ยวกับงานบริการวิชาการ มีการรับรู้ในระดับปานกลาง และภาพรวมระดับการปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานบริการวิชาการ มีการปฏิบัติในระดับเบื้องต้น และผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับการรับรู้การบริหารจัดการเกี่ยวกับงานบริการวิชาการ มี 3 ปัจจัย ได้แก่ ตำแหน่ง หน่วยงานที่สังกัด และระดับการศึกษา ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับการปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานบริการวิชาการ มี 1 ปัจจัย คือตำแหน่ง สรุปได้ว่าบุคลากรในตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน มีระดับการรับรู้สูงกว่าตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ แต่ทั้ง 2 ตำแหน่งไม่มีความแตกต่างจากตำแหน่งอื่น บุคลากรในสำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม (ITDI) มีระดับการรับรู้สูงกว่าสำนักพัฒนาเทคนิคศึกษา (ITED) และสถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไทย-เยอรมัน (TGDE) โดยที่สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส (TFII) มีระดับการรับรู้ไม่แตกต่างกับหน่วยงานอื่น ในด้านระดับการศึกษา พบว่า บุคลากรที่มีการศึกษาระดับปริญญาเอก มีระดับการรับรู้ในระดับสูง ส่วนระดับปริญญาโท ปริญญาตรี และต่ำกว่าปริญญาตรี มีระดับการรับรู้ในระดับปานกลาง แต่ไม่มีความแตกต่างกัน ส่วนในด้านของระดับการปฏิบัติงาน พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันเมื่อจำแนกตามตำแหน่ง จากผลการวิจัยนี้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานการให้บริการวิชาการ ควรให้มีการอบรมจากผู้มีประสบการณ์หรือผู้เชี่ยวชาญ และในส่วนงานต้องมีการอธิบายชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ และเกิดศักยภาพในการรองรับงานบริการวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือต่อไปในอนาคต","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"54 4","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140403628","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยความสัมพันธ์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อด้านแรงงานในภาพรวมของบริษัทที่ดำเนินการผลิตและบริการในนิคมอุตสาหกรรม เขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจัยความสัมพันธ์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อด้านแรงงานในภาพรวมของบริษัทที่ดำเนินการผลิตและบริการในนิคมอุตสาหกรรม เขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2024-03-01 DOI: 10.14416/j.ted.2024.03.012
พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา, วัฒนา พิลาจันทร์
{"title":"ปัจจัยความสัมพันธ์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อด้านแรงงานในภาพรวมของบริษัทที่ดำเนินการผลิตและบริการในนิคมอุตสาหกรรม เขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา","authors":"พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา, วัฒนา พิลาจันทร์","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.012","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.012","url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยภายในกิจการและปัจจัยความสัมพันธ์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อด้านแรงงานในภาพรวมของบริษัทที่ดำเนินการผลิตและบริการในนิคมอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) เพื่อศึกษาปัจจัยความสัมพันธ์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อด้านแรงงานในภาพรวมของบริษัทที่ดำเนินการผลิตและบริการในนิคมอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา และ 3) เพื่อศึกษาข้อคิดเห็นและแนวทางในการพัฒนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้านแรงงานของภาพรวมในนิคมอุตสาหกรรมเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสม ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณ โดยแบบสอบถาม จำนวน 400 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้บริหาร หัวหน้างาน จำนวน 15 ราย ผลการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยภายในกิจการและปัจจัยความสัมพันธ์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อด้านแรงงานในภาพรวมมีปัจจัยการจัดหาทรัพยากรมนุษย์อยู่ในระดับมาก การให้รางวัลผลตอบแทนอยู่ในระดับมาก การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อยู่ในระดับมาก และการจัดการความก้าวหน้าในสายอาชีพอยู่ในระดับมาก และ 2) ปัจจัยความสัมพันธ์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อด้านแรงงานในภาพรวมมีค่าร้อยละ 64.44 และ 3) ข้อคิดเห็นและแนวทางในการพัฒนาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้านแรงงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากองค์การควรมีกิจกรรมเสริมทักษะที่เน้นตรงตามสายงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถนำไปศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง ลดปัญหาความล้าช้าในการทำงานส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการทำงาน","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"117 11","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140406844","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Perceptions of Civil Aviation Training Center Students About the Use of The Test of English for International Communication Results Before Studying at Catc and Co-operative Education Enrollment 民航实训中心学生对国际交流英语成绩考试使用情况的认知
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2023-09-19 DOI: 10.14416/j.ted.2023.09.009
Nitirat Inthanu, Napakorn Singhashotsukkapatt, Punnamet Pechkasemtham, Sornnarong Chaokongka, Aunyanee Katepan
{"title":"Perceptions of Civil Aviation Training Center Students About the Use of The Test of English for International Communication Results Before Studying at Catc and Co-operative Education Enrollment","authors":"Nitirat Inthanu, Napakorn Singhashotsukkapatt, Punnamet Pechkasemtham, Sornnarong Chaokongka, Aunyanee Katepan","doi":"10.14416/j.ted.2023.09.009","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2023.09.009","url":null,"abstract":"This research was carried out in order to investigate the perceptions of Civil Aviation Training Center (CATC) students about the use of the Test of English for International Communication (TOEIC) results before studying at CATC and before co-operative education enrollment. The objective of this research was to study the perception of using TOEIC results before studying and before cooperative education enrollment and the factors that affected the perception of learning English for the Test of English for International Communication (TOEIC) and study the development of their English language skills for TOEIC preparation in order to propose guidelines for the development of English learning to the TOEIC test by studying and collecting data from 378 participants of 1st and 3rd year undergraduate students of CATC, Bachelor of Technology in Aviation Program in Aviation Management and Bachelor of Engineering in the academic year 2019 by using questionnaires and a random interview of 68 students. The results showed that most respondents get 405-600 English TOEIC score or Elementary Proficiency Plus level. Students were aware that CATC has clearly publicized that TOEIC result would be used for consideration before enrolling and before joining cooperative education. They realized that TOEIC was the one of a reliable and useful English language proficiency assessment. Regarding self-test preparation, it was found that most of the students were good self-learners by being aware that it must be well prepared before the test. They set their own goals in the test and also prepared their own materials used in test preparation. In the analysis of one's own ability, students knew their weaknesses and were able to improve themselves. Students realized that they would receive a higher score after their good preparation. And we also found that the helps and advices from lecturers would make students felt more confident during the TOEIC preparation process.","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"62 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-09-19","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"121507488","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Factors Affecting Online Learning Behavior During The COVID-19 Epidemic of Students of The Demonstration School of Ramkhamhaeng University 新冠肺炎疫情期间影响兰甘行大学示范学校学生在线学习行为的因素
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2023-09-19 DOI: 10.14416/j.ted.2023.09.014
Prontip Charoenkul
{"title":"Factors Affecting Online Learning Behavior During The COVID-19 Epidemic of Students of The Demonstration School of Ramkhamhaeng University","authors":"Prontip Charoenkul","doi":"10.14416/j.ted.2023.09.014","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2023.09.014","url":null,"abstract":"The purposes of this research are : 1) To study the personal factors of students in the Demonstration School of Ramkhamhaeng University, 2) to study the system quality factors information quality and the quality of online services, 3) to study the behavior of learning online during the COVID-19 outbreak, and 4) to study the personal factors of the respondents affecting their online learning behavior during the period the spread of the COVID-19 virus. Using questionnaires as a research instrument. The samples use in the research are students who choose to study art learning subject groups elementary school level 1-3, Ramkhamhaeng University Demonstration School number of 150 by quota sampling and the statistics use in the research are frequency, percentage, mean, standard deviation and Chi – Square Test. The research was found that as follows : 1) Most of the students were female not more than 9 years old with a cumulative grade point averaged in the range of 2.51- 3.00 which the course characteristics were practical. However, students used the residence of their parents/relatives. It was a place for using in online learning. 2) System quality factors information quality and the quality of online services. Overall, it was found that the students strongly agreed. When considering each aspect in descending order, it was found that the side with the highest mean was service quality, followed by information quality and the least was system quality. 3) Students' online learning behavior most were using less than 2 times a week. The online class time was between 12.01 - 15.00 hrs. , using the online system for no more than 2 hours per session. However, the equipment used in learning was a notebook and was intending to be used for homework assignments. 4) Student's personal factors affects online learning behavior during the epidemic of COVID-19 statistically significant at the .05. and 5) System quality factor information quality and service quality of online systems affects online learning behavior were during the epidemic of COVID-19 statistically significant at the .05 level.","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"22 4","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-09-19","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"113984336","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Factors Related to Entrepreneurs Requirements of Home economics Business Students Rajamangala University of Technology Phra Nakorn 家政学商科学生创业需求的相关因素
Journal Of Technical Education Development Pub Date : 2023-09-19 DOI: 10.14416/j.ted.2023.09.012
Sukunya Chantakul, Sakarin Hongrattanavorakit, Somprastana Suksala
{"title":"Factors Related to Entrepreneurs Requirements of Home economics Business Students Rajamangala University of Technology Phra Nakorn","authors":"Sukunya Chantakul, Sakarin Hongrattanavorakit, Somprastana Suksala","doi":"10.14416/j.ted.2023.09.012","DOIUrl":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2023.09.012","url":null,"abstract":"The purposes of this research were to 1) To study the need of the demand for entrepreneurs in home economics business students, from the Faculty of Home Economics Technology and 2) To survey the relationship between the personal factor and supportive factor and the demand of entrepreneurs in home economics students, from the Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Phra Nakorn. By giving queries and questionnaires to 180 Home Economics students from the Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Phra Nakorn. The result was found that the demand for entrepreneurs in home economics students is at a high level, The personal factor consisted of gender, major of study and work experiences during the study period was not significantly related to the demand of entrepreneurs in home economics students. The supportive factor consisted of attitudes towards entrepreneurs and the management of teaching and learning, the correlation with the demand for entrepreneurs in home economics students at the 0.05 level. The knowledge about entrepreneurs was not significantly related to the demand of entrepreneurs in home economics students.","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"73 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-09-19","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"127383970","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
相关产品
×
本文献相关产品
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信