{"title":"การศึกษาสภาพการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาของเด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่โรงเรียนอนุบาลของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น","authors":"บุญญลักษม์ ตำนานจิตร, สายสุดา ปั้นตระกูล","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.013","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาของเด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่โรงเรียนอนุบาลของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้ดูแลเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในงานวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ และใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์คำถามปลายเปิด ผลการวิจัยพบว่า ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัย มีประสบการณ์การทำงานดูแลเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 10 ปีขึ้นไป และสังกัดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขนาดเล็ก ไม่เกิน 50 คน การดำเนินการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษา พบว่า ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการช่วยเหลือเด็กเล็กในการปรับตัวทางสังคมและความพร้อมทางการเรียนเพื่อเข้าสู่ระดับอนุบาล โดยการจัดกิจกรรมเพื่อปรับพื้นฐานและเตรียมความพร้อมสู่ระดับอนุบาลให้กับเด็กเล็ก","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"4 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal Of Technical Education Development","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.013","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาสภาพการสร้างรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาของเด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่โรงเรียนอนุบาลของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวจัยครั้งนี้ได้แก่ผู้ดูแลเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในงานวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ และใช้การวิเคราะห์เนือหาในการวิเคราะห์คำถามปลายเปิด ผลการวิจัยพบว่าผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัย มประสบการณ์การทงำานดูแลเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก10 ปีึข้นไป และสังกัดศูยน์พัฒนาเด็กเด็ก ไม่เกิน 50 คน การดำเนินการสร้างรอยเช่อืมต่อทางการศึกษาเด็กเด็กเE1C↩ู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการช่วยเหลือเด็กเล็กในการปรับตัวทางสังคมและความพร้อมทางการเรียนเพื่อเข้าสู่ระดับอุบาลโดยการจัดกิจกรรมเพือปรับพืนฐานและเตรียมความพร้อมสู่ระดับนุบาห้ับเด็กเลก็
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。