泰国清迈母亲林地区老年人使用草药的预测因素

สามารถ ใจเตี้ย, ศศิกัญญ์ ผ่องชมพู, วิทญา ตันอารีย์, เอกลักษ์ ชมพูศรี
{"title":"泰国清迈母亲林地区老年人使用草药的预测因素","authors":"สามารถ ใจเตี้ย, ศศิกัญญ์ ผ่องชมพู, วิทญา ตันอารีย์, เอกลักษ์ ชมพูศรี","doi":"10.53848/irdssru.v13i2.250372","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยเชิงผสมผสานนี้ศึกษาการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ และพยากรณ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60 – 95 ปี ในชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 177 คน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 8 คน รวมรวบข้อมูลโดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุมีการใช้สมุนไพรพื้นบ้านโดยรวมระดับน้อย (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.98) และเมื่อวิเคราะห์อำนาจการพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ มีตัวแปรที่สามารถอธิบายความผันแปรการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ 2 ตัวแปรย่อย ได้แก่ อายุ และการรับรู้ประโยชน์สมุนไพรพื้นบ้าน โดยร่วมกันพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 42.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ทั้งนี้ควรส่งเสริมความรู้ทางวิชาการที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในผู้สูงอายุ","PeriodicalId":31349,"journal":{"name":"Suan Sunandha Rajabhat University Journal of Science and Technology","volume":"63 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-12-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ปัจจัยพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ ชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่\",\"authors\":\"สามารถ ใจเตี้ย, ศศิกัญญ์ ผ่องชมพู, วิทญา ตันอารีย์, เอกลักษ์ ชมพูศรี\",\"doi\":\"10.53848/irdssru.v13i2.250372\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยเชิงผสมผสานนี้ศึกษาการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ และพยากรณ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60 – 95 ปี ในชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 177 คน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 8 คน รวมรวบข้อมูลโดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุมีการใช้สมุนไพรพื้นบ้านโดยรวมระดับน้อย (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.98) และเมื่อวิเคราะห์อำนาจการพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ มีตัวแปรที่สามารถอธิบายความผันแปรการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ 2 ตัวแปรย่อย ได้แก่ อายุ และการรับรู้ประโยชน์สมุนไพรพื้นบ้าน โดยร่วมกันพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 42.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ทั้งนี้ควรส่งเสริมความรู้ทางวิชาการที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในผู้สูงอายุ\",\"PeriodicalId\":31349,\"journal\":{\"name\":\"Suan Sunandha Rajabhat University Journal of Science and Technology\",\"volume\":\"63 1\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2021-12-22\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suan Sunandha Rajabhat University Journal of Science and Technology\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.250372\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suan Sunandha Rajabhat University Journal of Science and Technology","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.250372","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

这项综合研究对老年人使用传统草药进行了研究,并对影响老年人使用的因素进行了预测。老年人使用传统草药的总体水平较低(平均为1.98),在分析老年人使用传统草药的预测能力时,有两个子变量可以描述老年人使用传统草药的变化,包括年龄和对传统草药的认知。共同预测,老年人使用传统草药的比例为42.4%,统计意义为0.05,应促进老年人使用草药的正确学术知识。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
ปัจจัยพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ ชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
การวิจัยเชิงผสมผสานนี้ศึกษาการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ และพยากรณ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60 – 95 ปี ในชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 177 คน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 8 คน รวมรวบข้อมูลโดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุมีการใช้สมุนไพรพื้นบ้านโดยรวมระดับน้อย (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.98) และเมื่อวิเคราะห์อำนาจการพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ มีตัวแปรที่สามารถอธิบายความผันแปรการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ 2 ตัวแปรย่อย ได้แก่ อายุ และการรับรู้ประโยชน์สมุนไพรพื้นบ้าน โดยร่วมกันพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 42.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ทั้งนี้ควรส่งเสริมความรู้ทางวิชาการที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในผู้สูงอายุ
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
审稿时长
8 weeks
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信