{"title":"การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัล","authors":"ชนัญชิดา ขวัญใจ, สุภัททา ปิณฑะแพทย์, ภาวิณี บุณยโสภณ, ปรีดา อัตวินิจตระการ","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.008","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัล 2) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลและ 3) จัดทำคู่มือแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัล ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสานการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ประชากรในการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นผู้บริหารในธุรกิจออกแบบงานสถาปัตยกรรม ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การประชุมสนทนากลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ผู้บริหารระดับสูง พันธมิตรและนักวิชาการในธุรกิจออกแบบสถาปัตยกรรม กลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถามเชิงปริมาณ จำนวน 395 คน เป็นผู้บริหารในธุรกิจออกแบบงานสถาปัตยกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพคือ แบบสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้างเพื่อการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณได้แก่ แบบสอบถามและแบบประเมินคู่มือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบองค์ประกอบการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลประกอบด้วย7 องค์ประกอบคือ 1) การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ 2) สมรรถนะในการบริหาร 3) การนำองค์กร 4) การบริหารกระบวนการออกแบบ 5) การบริหารการเปลี่ยนแปลง) 6) การบริหารความเสี่ยง 7) การบริหารตามสถานการณ์ คู่มือแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลส่วนที่ 1 เป็นองค์ประกอบของคู่มือและส่วนที่ 2 แนวทางการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัล รูปแบบและคู่มือได้รับการประเมินและเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านความเหมาะสมของเนื้อหาในระดับร้อยละ 98 และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลได้","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"49 s19","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัล\",\"authors\":\"ชนัญชิดา ขวัญใจ, สุภัททา ปิณฑะแพทย์, ภาวิณี บุณยโสภณ, ปรีดา อัตวินิจตระการ\",\"doi\":\"10.14416/j.ted.2024.03.008\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัล 2) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลและ 3) จัดทำคู่มือแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัล ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสานการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ประชากรในการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นผู้บริหารในธุรกิจออกแบบงานสถาปัตยกรรม ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การประชุมสนทนากลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ผู้บริหารระดับสูง พันธมิตรและนักวิชาการในธุรกิจออกแบบสถาปัตยกรรม กลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถามเชิงปริมาณ จำนวน 395 คน เป็นผู้บริหารในธุรกิจออกแบบงานสถาปัตยกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพคือ แบบสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้างเพื่อการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณได้แก่ แบบสอบถามและแบบประเมินคู่มือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบองค์ประกอบการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลประกอบด้วย7 องค์ประกอบคือ 1) การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ 2) สมรรถนะในการบริหาร 3) การนำองค์กร 4) การบริหารกระบวนการออกแบบ 5) การบริหารการเปลี่ยนแปลง) 6) การบริหารความเสี่ยง 7) การบริหารตามสถานการณ์ คู่มือแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลส่วนที่ 1 เป็นองค์ประกอบของคู่มือและส่วนที่ 2 แนวทางการบริหารจัดการธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัล รูปแบบและคู่มือได้รับการประเมินและเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านความเหมาะสมของเนื้อหาในระดับร้อยละ 98 และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจการออกแบบงานสถาปัตยกรรมในยุคดิจิทัลได้\",\"PeriodicalId\":120890,\"journal\":{\"name\":\"Journal Of Technical Education Development\",\"volume\":\"49 s19\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-03-01\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal Of Technical Education Development\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.008\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal Of Technical Education Development","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.008","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0