{"title":"การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต","authors":"ทิพวรรณ เรืองชูพงศ์","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.266384","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ ความรุนแรงที่กระทำโดยผู้ป่วยและญาติต่อบุคลากรทางการแพทย์เป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง การศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ต่อการจัดการของสถานพยาบาล มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ความรุนแรงดังกล่าว \nวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ในหน่วยฉุกเฉิน และหน่วยวิกฤตต่อนโยบายการจัดการโรงพยาบาลสำหรับความรุนแรง ในสถานพยาบาลทั้งระดับหน่วย และระดับโรงพยาบาล \nการออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้กรอบแนวคิดวิธีการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาล \nวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงานในหน่วยฉุกเฉินและ หน่วยวิกฤตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 111 ราย ได้แก่ พยาบาล วิชาชีพ 79 ราย บุคลากรทางการแพทย์อื่น 32 ราย เลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า กำหนดขนาดตัวอย่างตามหลักการของ Yamane เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงของหน่วยงานและโรงพยาบาล และคำถามปลายเปิด เกี่ยวกับข้อเสนอแนะ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือวิจัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ .96 ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามการรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลเท่ากับ .98 และ .97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา \nผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 82.9) และเป็นพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 71.2) มีการรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของโรงพยาบาลทั้งในระดับหน่วยงานและในระดับโรงพยาบาล อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.04, SD=0.71; M=2.80, SD=0.83 ตามลำดับ) และมีความคาดหวัง ต่อการจัดการความรุนแรงทั้งในระดับหน่วยงานและระดับโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (M=4.42, SD=0.75 และ M=4.42, SD=0.86 ตามลำดับ) การรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของกลุ่มตัวอย่างในหน่วยฉุกเฉิน อยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง ในขณะที่หน่วยวิกฤตอยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาจากคำถามปลายเปิด พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีข้อเสนอแนะให้มีมาตรการและแนวทางการจัดการความรุนแรงที่ชัดเจน \nข้อเสนอแนะ สถานพยาบาลควรกำหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติในการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลอย่างชัดเจนโดยเฉพาะที่หน่วยฉุกเฉิน เพื่อให้สอดคล้องกับความคาดหวังของบุคลากร ทางการแพทย์","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต\",\"authors\":\"ทิพวรรณ เรืองชูพงศ์\",\"doi\":\"10.60099/jtnmc.v39i01.266384\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"บทนำ ความรุนแรงที่กระทำโดยผู้ป่วยและญาติต่อบุคลากรทางการแพทย์เป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง การศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ต่อการจัดการของสถานพยาบาล มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ความรุนแรงดังกล่าว \\nวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ในหน่วยฉุกเฉิน และหน่วยวิกฤตต่อนโยบายการจัดการโรงพยาบาลสำหรับความรุนแรง ในสถานพยาบาลทั้งระดับหน่วย และระดับโรงพยาบาล \\nการออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้กรอบแนวคิดวิธีการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาล \\nวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงานในหน่วยฉุกเฉินและ หน่วยวิกฤตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 111 ราย ได้แก่ พยาบาล วิชาชีพ 79 ราย บุคลากรทางการแพทย์อื่น 32 ราย เลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า กำหนดขนาดตัวอย่างตามหลักการของ Yamane เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงของหน่วยงานและโรงพยาบาล และคำถามปลายเปิด เกี่ยวกับข้อเสนอแนะ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือวิจัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ .96 ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามการรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลเท่ากับ .98 และ .97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา \\nผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 82.9) และเป็นพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 71.2) มีการรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของโรงพยาบาลทั้งในระดับหน่วยงานและในระดับโรงพยาบาล อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.04, SD=0.71; M=2.80, SD=0.83 ตามลำดับ) และมีความคาดหวัง ต่อการจัดการความรุนแรงทั้งในระดับหน่วยงานและระดับโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (M=4.42, SD=0.75 และ M=4.42, SD=0.86 ตามลำดับ) การรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของกลุ่มตัวอย่างในหน่วยฉุกเฉิน อยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง ในขณะที่หน่วยวิกฤตอยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาจากคำถามปลายเปิด พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีข้อเสนอแนะให้มีมาตรการและแนวทางการจัดการความรุนแรงที่ชัดเจน \\nข้อเสนอแนะ สถานพยาบาลควรกำหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติในการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลอย่างชัดเจนโดยเฉพาะที่หน่วยฉุกเฉิน เพื่อให้สอดคล้องกับความคาดหวังของบุคลากร ทางการแพทย์\",\"PeriodicalId\":507625,\"journal\":{\"name\":\"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council\",\"volume\":null,\"pages\":null},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-03-26\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.266384\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.266384","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต
บทนำ ความรุนแรงที่กระทำโดยผู้ป่วยและญาติต่อบุคลากรทางการแพทย์เป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง การศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ต่อการจัดการของสถานพยาบาล มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ความรุนแรงดังกล่าว
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ในหน่วยฉุกเฉิน และหน่วยวิกฤตต่อนโยบายการจัดการโรงพยาบาลสำหรับความรุนแรง ในสถานพยาบาลทั้งระดับหน่วย และระดับโรงพยาบาล
การออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้กรอบแนวคิดวิธีการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาล
วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงานในหน่วยฉุกเฉินและ หน่วยวิกฤตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 111 ราย ได้แก่ พยาบาล วิชาชีพ 79 ราย บุคลากรทางการแพทย์อื่น 32 ราย เลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า กำหนดขนาดตัวอย่างตามหลักการของ Yamane เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงของหน่วยงานและโรงพยาบาล และคำถามปลายเปิด เกี่ยวกับข้อเสนอแนะ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือวิจัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ .96 ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามการรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลเท่ากับ .98 และ .97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
ผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 82.9) และเป็นพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 71.2) มีการรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของโรงพยาบาลทั้งในระดับหน่วยงานและในระดับโรงพยาบาล อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.04, SD=0.71; M=2.80, SD=0.83 ตามลำดับ) และมีความคาดหวัง ต่อการจัดการความรุนแรงทั้งในระดับหน่วยงานและระดับโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (M=4.42, SD=0.75 และ M=4.42, SD=0.86 ตามลำดับ) การรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของกลุ่มตัวอย่างในหน่วยฉุกเฉิน อยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง ในขณะที่หน่วยวิกฤตอยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาจากคำถามปลายเปิด พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีข้อเสนอแนะให้มีมาตรการและแนวทางการจัดการความรุนแรงที่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะ สถานพยาบาลควรกำหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติในการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลอย่างชัดเจนโดยเฉพาะที่หน่วยฉุกเฉิน เพื่อให้สอดคล้องกับความคาดหวังของบุคลากร ทางการแพทย์