{"title":"การสร้างความยั่งยืนในผลิตภัณฑ์เกษตรชุมชนด้วยการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ","authors":"วุทธิชัย ลิ้มอรุโณทัย","doi":"10.60101/mmr.2023.265090","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการบริหารจัดการในระบบนิเวศของผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ และพัฒนาแนวทางในการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศของผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์สู่ความยั่งยืน ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการถอดบทเรียน โดยมีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ นักการตลาด และนักวิชาการในชุมชน จำนวน 9 คน ในพื้นที่ปริมณฑล 2 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสาคร และนำมาถอดบทเรียน ในส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ทำการวิเคราะห์สมการ เชิงโครงสร้าง (SEM) ใช้แนวทางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 540 ตัวอย่าง ให้สอดคล้องกับการใช้สถิติวิเคราะห์องค์ประกอบ ที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณคือกลุ่มผู้บริโภคที่สนใจซื้อผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร ในรูปแบบออนไลน์โดยทำการสำรวจในพื้นที่ปริมณฑล ผลการวิจัยพบว่า โมเดลตามสมมติฐานที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ หรือกล่าวอีกนัยคือ (1) การบริหารการผลิต และการบริหารพันธมิตร ส่งผลโดยตรงต่อการบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารโลจิสติกส์ การบริหารการตลาด และ (2) การบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารโลจิสติกส์ การบริหารการตลาด ส่งผลโดยตรงต่อผู้บริโภคผลิตภัณฑ์การเกษตรชุมชนที่ยั่งยืน ซึ่งโมเดลนี้ สามารถอธิบายความแปรปรวนของผลิตภัณฑ์การเกษตรชุมชนที่ยั่งยืนได้ร้อยละ 83.12 โดยผลการวิเคราะห์เส้นทางมีความกลมกลืนกันกับโมเดลเชิงประจักษ์คือ χ2/df=1.213, p=0.1057, CFI= 0.975, GFI=0.963, AGFI=0.932, RMSEA=0.034","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"10 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-12-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การสร้างความยั่งยืนในผลิตภัณฑ์เกษตรชุมชนด้วยการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ\",\"authors\":\"วุทธิชัย ลิ้มอรุโณทัย\",\"doi\":\"10.60101/mmr.2023.265090\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการบริหารจัดการในระบบนิเวศของผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ และพัฒนาแนวทางในการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศของผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์สู่ความยั่งยืน ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการถอดบทเรียน โดยมีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ นักการตลาด และนักวิชาการในชุมชน จำนวน 9 คน ในพื้นที่ปริมณฑล 2 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสาคร และนำมาถอดบทเรียน ในส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ทำการวิเคราะห์สมการ เชิงโครงสร้าง (SEM) ใช้แนวทางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 540 ตัวอย่าง ให้สอดคล้องกับการใช้สถิติวิเคราะห์องค์ประกอบ ที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณคือกลุ่มผู้บริโภคที่สนใจซื้อผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร ในรูปแบบออนไลน์โดยทำการสำรวจในพื้นที่ปริมณฑล ผลการวิจัยพบว่า โมเดลตามสมมติฐานที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ หรือกล่าวอีกนัยคือ (1) การบริหารการผลิต และการบริหารพันธมิตร ส่งผลโดยตรงต่อการบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารโลจิสติกส์ การบริหารการตลาด และ (2) การบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารโลจิสติกส์ การบริหารการตลาด ส่งผลโดยตรงต่อผู้บริโภคผลิตภัณฑ์การเกษตรชุมชนที่ยั่งยืน ซึ่งโมเดลนี้ สามารถอธิบายความแปรปรวนของผลิตภัณฑ์การเกษตรชุมชนที่ยั่งยืนได้ร้อยละ 83.12 โดยผลการวิเคราะห์เส้นทางมีความกลมกลืนกันกับโมเดลเชิงประจักษ์คือ χ2/df=1.213, p=0.1057, CFI= 0.975, GFI=0.963, AGFI=0.932, RMSEA=0.034\",\"PeriodicalId\":506335,\"journal\":{\"name\":\"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี\",\"volume\":\"10 5\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2023-12-09\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.265090\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.265090","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การสร้างความยั่งยืนในผลิตภัณฑ์เกษตรชุมชนด้วยการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการบริหารจัดการในระบบนิเวศของผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ และพัฒนาแนวทางในการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศของผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์สู่ความยั่งยืน ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการถอดบทเรียน โดยมีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ นักการตลาด และนักวิชาการในชุมชน จำนวน 9 คน ในพื้นที่ปริมณฑล 2 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสาคร และนำมาถอดบทเรียน ในส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ทำการวิเคราะห์สมการ เชิงโครงสร้าง (SEM) ใช้แนวทางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 540 ตัวอย่าง ให้สอดคล้องกับการใช้สถิติวิเคราะห์องค์ประกอบ ที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณคือกลุ่มผู้บริโภคที่สนใจซื้อผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร ในรูปแบบออนไลน์โดยทำการสำรวจในพื้นที่ปริมณฑล ผลการวิจัยพบว่า โมเดลตามสมมติฐานที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ หรือกล่าวอีกนัยคือ (1) การบริหารการผลิต และการบริหารพันธมิตร ส่งผลโดยตรงต่อการบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารโลจิสติกส์ การบริหารการตลาด และ (2) การบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารโลจิสติกส์ การบริหารการตลาด ส่งผลโดยตรงต่อผู้บริโภคผลิตภัณฑ์การเกษตรชุมชนที่ยั่งยืน ซึ่งโมเดลนี้ สามารถอธิบายความแปรปรวนของผลิตภัณฑ์การเกษตรชุมชนที่ยั่งยืนได้ร้อยละ 83.12 โดยผลการวิเคราะห์เส้นทางมีความกลมกลืนกันกับโมเดลเชิงประจักษ์คือ χ2/df=1.213, p=0.1057, CFI= 0.975, GFI=0.963, AGFI=0.932, RMSEA=0.034