วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี最新文献

筛选
英文 中文
EXPLORING THE LINK: HOW SERVICE QUALITY INFLUENCES STUDENT SATISFACTION AND FOSTERS LOYALTY IN EDUCATIONAL INSTITUTIONS 探索联系:教育机构的服务质量如何影响学生满意度和培养学生忠诚度
Shangmin Wang, Chaithanaskorn Phawitpiriyakliti, Sid Terason
{"title":"EXPLORING THE LINK: HOW SERVICE QUALITY INFLUENCES STUDENT SATISFACTION AND FOSTERS LOYALTY IN EDUCATIONAL INSTITUTIONS","authors":"Shangmin Wang, Chaithanaskorn Phawitpiriyakliti, Sid Terason","doi":"10.60101/mmr.2024.270680","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2024.270680","url":null,"abstract":"Student loyalty has improved the sustainable development and survival rate of private universities. The quality of universities' services is an important indicator for measuring the results of private universities. This research aims to explore the mediating role of satisfaction between service quality and student loyalty. The researcher used a random sampling method to collect data from 493 responses of students in private universities in Guangxi. Using SmartPLS 4 software, the relationship between structures was analyzed using partial least squares (PLS) structural equation method.\u0000The results indicated that service quality affected student satisfaction, which in turn influenced loyalty. However, service quality had no significant direct impact on loyalty. The impact of service quality on loyalty was indirect, as mediated by satisfaction. Therefore, while improving the quality of university services, university managers should pay more attention to the improvement of student satisfaction, and continuously promote the close connection and recognition of students with colleges and universities, to stimulate and consolidate the loyalty of students.","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"7 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-05-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141099131","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินสำหรับผู้เกษียณอายุ กรณีศึกษา: การรับเงินบำนาญจากกองทุนการออมแห่งชาติ การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินสำหรับผู้เกษียณอายุ กรณีศึกษา: การรับเงินบำนาญจากกองทุนการออมแห่งชาติ
สุพัฒนา เตโชชลาลัย, ปรมินทร์ โฆษิตกุลพร, พรสวัสดิ์ ผดุง
{"title":"การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินสำหรับผู้เกษียณอายุ กรณีศึกษา: การรับเงินบำนาญจากกองทุนการออมแห่งชาติ","authors":"สุพัฒนา เตโชชลาลัย, ปรมินทร์ โฆษิตกุลพร, พรสวัสดิ์ ผดุง","doi":"10.60101/mmr.2024.268761","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2024.268761","url":null,"abstract":"การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินสำหรับผู้เกษียณอายุ กรณีศึกษา: การรับเงินบำนาญจากกองทุนการออมแห่งชาติ โดยเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนกับอัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ อัตราผลตอบแทนของกองทุนการออมแห่งชาติ และอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาล โดยเก็บข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งเครื่องมือในการวิเคราะห์ ได้แก่ ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value: NPV) และอัตราผลตอบแทนซื้อลด (Internal Rate of Returns: IRR)\u0000ผลการวิจัยพบว่า หากผู้ออมเริ่มออมตั้งแต่อายุ 15-60 ปี จะมีระยะเวลาคืนทุนเมื่อผู้ออมมีอายุ 79.14 ปี ถ้าผู้ออมเริ่มออมตั้งแต่อายุ 30-60 ปี จะมีระยะเวลาคืนทุนเมื่อผู้ออมมีอายุ 75.62 ปี นอกจากนี้ หากผู้ออมเริ่มออมตั้งแต่อายุ 45-60 ปี จะมีระยะเวลาคืนทุนเมื่อผู้ออมมีอายุ 77.55 ปี อย่างไรก็ตาม หากผู้ออมเริ่มออมตั้งแต่อายุ 50-60 ปี จะมีระยะเวลาคืนทุนเมื่อผู้ออมมีอายุ 93.91 ปี สำหรับผลการวิจัยมูลค่าปัจจุบันสุทธิ และอัตราผลตอบแทนซื้อลด พบว่า ผู้ออมที่เริ่มออมเงินตั้งแต่อายุน้อยจะได้รับผลตอบแทนสูงกว่าผู้ออมที่เริ่มออมเมื่อมีอายุมากแล้ว","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"57 17","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-05-20","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141121683","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
อิทธิพลของกลยุทธ์การสร้างตราผลิตภัณฑ์ที่มีต่อความสามารถในการทำกำไรทางการตลาดของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย อิทธิพลของกลยุทธ์การสร้างตราผลิตภัณฑ์ที่มีต่อความสามารถในการทำกำไรทางการตลาดของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย
วิทวัส ปานศุภวัชร, วันวิภา ปานศุภวัชร, ชัยณรงค์ พูลเกษม
{"title":"อิทธิพลของกลยุทธ์การสร้างตราผลิตภัณฑ์ที่มีต่อความสามารถในการทำกำไรทางการตลาดของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย","authors":"วิทวัส ปานศุภวัชร, วันวิภา ปานศุภวัชร, ชัยณรงค์ พูลเกษม","doi":"10.60101/mmr.2024.268334","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2024.268334","url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาอิทธิพลของกลยุทธ์การสร้างตราผลิตภัณฑ์ที่มีต่อความสามารถในการทำกำไรทางการตลาด ความสามารถในการแช่งขันทางการตลาดและความสำเร็จของตราผลิตภัณฑ์ 2) ศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการแข่งขันทางการตลาดที่มีต่อความสามารถในการทำกำไรทางการตลาด และ 3) ศึกษาอิทธิพลของความสำเร็จของ ตราผลิตภัณฑ์ที่มีต่อความสามารถในการทำกำไรทางการตลาด ทำการศึกษาในกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม เนื่องจากเป็นสินค้าที่มีความแตกต่างกันในคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์จากแต่ละผู้ผลิตไม่มากนัก กลยุทธ์ การสร้างตราผลิตภัณฑ์จึงมีบทบาทสำคัญในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยมีผู้จัดการฝ่ายการตลาดและผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด เป็นผู้ให้ข้อมูลจำนวนทั้งสิ้น 320 ราย โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง ในการทดสอบสมมติฐาน\u0000ผลการศึกษาพบว่า กลยุทธ์การสร้างตราผลิตภัณฑ์ มีอิทธิพลในเชิงบวกกับความสามารถในการทำกำไรทางการตลาด ความสามารถในการแข่งขันทางการตลาด และความสำเร็จของตราผลิตภัณฑ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนี้ความสามารถในการแข่งขันทางการตลาดมีอิทธิพลต่อความสามารถในการทำกำไรทางการตลาดในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพบว่าความสำเร็จของตราผลิตภัณฑ์มีอิทธิพลต่อความสามารถในการทำกำไรทางการตลาด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างและข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่าโมเดลสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"102 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-05-12","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140987496","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ด้านการยอมรับสำหรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ด้านการยอมรับสำหรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย
วรัท พันธุ์พิศุทธิ์ชัย, ธีรารัตน์ วรพิเชฐ
{"title":"ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ด้านการยอมรับสำหรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย","authors":"วรัท พันธุ์พิศุทธิ์ชัย, ธีรารัตน์ วรพิเชฐ","doi":"10.60101/mmr.2023.267076","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.267076","url":null,"abstract":"งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ด้านการยอมรับสำหรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย มีเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริโภคที่ใช้รถยนต์ไฟฟ้าที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย เป็นจำนวน 422 ตัวอย่าง โดยใช้สถิติ การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม (t-test) การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรมากกว่า 2 กลุ่ม (F-test) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ จากการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเพศชายร้อยละ 49.3 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 50.7 โดยส่วนมากมีอายุในช่วง 50 - 59 ปี คิดเป็นร้อยละ 28.2 มีระดับรายได้อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 39.8 ซึ่งอยู่ในช่วง 35,000 - 75,000 บาท ประกอบอาชีพเป็นพนักงานหรือผู้บริหารบริษัทเอกชนร้อยละ 36.7 สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าเป็นร้อยละ 55 เป็นผู้สมรสแล้วคิดเป็นร้อยละ 48.8 และมีสมาชิกที่อาศัยร่วมกัน 3 - 5 คน คิดเป็นร้อยละ 46.2 และจากผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ผู้บริโภคที่มีอาชีพ ระดับการศึกษา และวัตถุประสงค์หลักในการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าที่แตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยของการรับรู้ว่ามีประโยชน์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านของผู้บริโภคที่มีเพศและความถี่ในการใช้รถยนต์ต่อสัปดาห์ที่แตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยของการรับรู้ว่าง่ายต่อการใช้งานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในส่วนของทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการรับรู้เทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าทั้งในด้านการรับรู้ว่ามีประโยชน์และการรับรู้ว่าง่ายต่อการใช้งานโดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"44 ","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-18","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139176013","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
บุคลิกภาพและความสามารถในการสื่อสาร: จากวัยเด็กสู่วัยทำงาน บุคลิกภาพและความสามารถในการสื่อสาร: จากวัยเด็กสู่วัยทำงาน
ชนาภา อิทธิอมรกุลชัย
{"title":"บุคลิกภาพและความสามารถในการสื่อสาร: จากวัยเด็กสู่วัยทำงาน","authors":"ชนาภา อิทธิอมรกุลชัย","doi":"10.60101/mmr.2023.269613","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.269613","url":null,"abstract":"","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"187 ","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-18","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139172632","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับอุปสงค์ตลาด กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี การจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับอุปสงค์ตลาด กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี
สุปรีชญา บุญมาก, พงศ์ชยนต์ ศรีสุวรรณ, ณัฐวรรณ สมรรคจันทร์
{"title":"การจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับอุปสงค์ตลาด กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี","authors":"สุปรีชญา บุญมาก, พงศ์ชยนต์ ศรีสุวรรณ, ณัฐวรรณ สมรรคจันทร์","doi":"10.60101/mmr.2023.267866","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.267866","url":null,"abstract":"จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าการวางแผนการเก็บเกี่ยวในปัจจุบันเกษตรกรใช้ประสบการณ์การทำการเกษตรที่ผ่านมา จึงทำให้การวางแผนการเก็บเกี่ยวไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยมีวัตถุประสงค์ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายรวมในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่ต่ำที่สุด โดยค่าใช้จ่ายที่นำมาพิจารณามี 3 ส่วน คือ 1) ค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร 2) ค่าใช้จ่ายในการดูแลระหว่างที่สินค้าเกษตรค้างอยู่ในแปลงปลูก และ 3) ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเกษตรจากสมาชิกเกษตรกรในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และหาผลเฉลี่ยโดยใช้เครื่องมือโซลเวอร์ (Solver) ซึ่งเป็นฟังก์ชัน Add-ins ในโปรแกรมไมโครซอฟต์ เอ็กเซล (Microsoft Excel) ผลการวิจัยพบว่า หลังจากประยุกต์ใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้นในการนำมาจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมจากเดิม 226,626 บาท ลดลงเหลือ 188,025 บาท หรือ ค่าใช้จ่ายลดลง 38,601 บาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายลดลงร้อยละ 17.03 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านการวางแผนการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรของวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี และสร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น เพื่อใช้วางแผนการจัดการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับอุปสงค์ตลาด จากนั้นทำการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการจัดการการเก็บเกี่ยวระหว่างรูปแบบปัจจุบันและรูปแบบการใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยใช้ระเบียบวิจัยแบบผสมผสาน ทำการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเจาะจง โดยสัมภาษณ์ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 1 ราย และสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจำนวน 4 ราย","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"15 1-2","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-13","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139180997","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
อิทธิพลของปัจจัยในการดำเนินธุรกิจที่มีต่อความเติบโต ของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย อิทธิพลของปัจจัยในการดำเนินธุรกิจที่มีต่อความเติบโต ของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย
ธนีนุช เร็วการ, ณภัทร ทิพย์ศรี, นพรัตน์ เตชะพันธ์รัตนกุล, มงคลกร ศรีวิชัย
{"title":"อิทธิพลของปัจจัยในการดำเนินธุรกิจที่มีต่อความเติบโต ของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย","authors":"ธนีนุช เร็วการ, ณภัทร ทิพย์ศรี, นพรัตน์ เตชะพันธ์รัตนกุล, มงคลกร ศรีวิชัย","doi":"10.60101/mmr.2023.267405","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.267405","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยในการดำเนินธุรกิจและความเติบโตของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย 2) เปรียบเทียบปัจจัยในการดำเนินธุรกิจและความเติบโตของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย จำแนกตามข้อมูลของธุรกิจ และ 3) ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการดำเนินธุรกิจที่มีต่อความเติบโตของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย จำนวน 400 ราย ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ และการวิเคราะห์ความแปรปรวน เปรียบเทียบพหุคูณแบบ LSD ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยในการดำเนินธุรกิจและความเติบโตของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประเภทของธุรกิจ อายุของกิจการ และจำนวนเงินลงทุนของกิจการ ที่แตกต่างกัน ความเติบโตของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงราย แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ปัจจัยในการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ด้านการจัดการ การเงิน การตลาด และการปฏิบัติการและเทคโนโลยี มีอิทธิพลทางบวกต่อความเติบโตของธุรกิจ SMEs ในจังหวัดเชียงรายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยตัวแปรปัจจัยในการดำเนินธุรกิจ ทั้ง 4 ตัวแปรร่วมกันทำนายความเติบโตของธุรกิจ คิดเป็นร้อยละ 68.50 ผลจากการศึกษาครั้งนี้ นำมาเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของธุรกิจ SMEs ให้มีความสามารถในการแข่งขันและความเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"80 4","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-11","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139183358","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน และสภาพแวดล้อมการทำงาน ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทผลิตไอศกรีม ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน และสภาพแวดล้อมการทำงาน ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทผลิตไอศกรีม
ศักดินนท์ จุ้ยชุม, กล้าหาญ ณ น่าน
{"title":"ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน และสภาพแวดล้อมการทำงาน ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทผลิตไอศกรีม","authors":"ศักดินนท์ จุ้ยชุม, กล้าหาญ ณ น่าน","doi":"10.60101/mmr.2023.262985","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.262985","url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานและสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทผลิตไอศกรีม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ พนักงานฝ่ายปฏิบัติการของบริษัทผลิตไอศกรีมแห่งหนึ่ง จำนวน 227 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถามที่ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและความเชื่อมั่น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สมการถดถอยพหุคูณเชิงเส้น ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 35 ปีขึ้นไป มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 15,000 - 20,000 บาท มีประสบการณ์ทำงาน 13 ปีขึ้นไป และพบว่า ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานด้านสติปัญญามีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทผลิตไอศกรีมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และองค์ประกอบสภาพแวดล้อมการทำงานทางกายภาพและองค์ประกอบทางสังคมมีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทผลิตไอศกรีมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"76 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-11","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139183753","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การสร้างความยั่งยืนในผลิตภัณฑ์เกษตรชุมชนด้วยการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ การสร้างความยั่งยืนในผลิตภัณฑ์เกษตรชุมชนด้วยการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ
วุทธิชัย ลิ้มอรุโณทัย
{"title":"การสร้างความยั่งยืนในผลิตภัณฑ์เกษตรชุมชนด้วยการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ","authors":"วุทธิชัย ลิ้มอรุโณทัย","doi":"10.60101/mmr.2023.265090","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.265090","url":null,"abstract":"งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการบริหารจัดการในระบบนิเวศของผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ และพัฒนาแนวทางในการบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศของผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์สู่ความยั่งยืน ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการถอดบทเรียน โดยมีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ นักการตลาด และนักวิชาการในชุมชน จำนวน 9 คน ในพื้นที่ปริมณฑล 2 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสาคร และนำมาถอดบทเรียน ในส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ทำการวิเคราะห์สมการ เชิงโครงสร้าง (SEM) ใช้แนวทางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 540 ตัวอย่าง ให้สอดคล้องกับการใช้สถิติวิเคราะห์องค์ประกอบ ที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณคือกลุ่มผู้บริโภคที่สนใจซื้อผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร ในรูปแบบออนไลน์โดยทำการสำรวจในพื้นที่ปริมณฑล ผลการวิจัยพบว่า โมเดลตามสมมติฐานที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ หรือกล่าวอีกนัยคือ (1) การบริหารการผลิต และการบริหารพันธมิตร ส่งผลโดยตรงต่อการบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารโลจิสติกส์ การบริหารการตลาด และ (2) การบริหารการจัดจำหน่าย การบริหารโลจิสติกส์ การบริหารการตลาด ส่งผลโดยตรงต่อผู้บริโภคผลิตภัณฑ์การเกษตรชุมชนที่ยั่งยืน ซึ่งโมเดลนี้ สามารถอธิบายความแปรปรวนของผลิตภัณฑ์การเกษตรชุมชนที่ยั่งยืนได้ร้อยละ 83.12 โดยผลการวิเคราะห์เส้นทางมีความกลมกลืนกันกับโมเดลเชิงประจักษ์คือ χ2/df=1.213, p=0.1057, CFI= 0.975, GFI=0.963, AGFI=0.932, RMSEA=0.034","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"10 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139184734","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
แนวทางการเสริมประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้วยระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) แนวทางการเสริมประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้วยระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
ดวงมล ยศพรมมา, กฤษดา เชียรวัฒนสุข
{"title":"แนวทางการเสริมประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้วยระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)","authors":"ดวงมล ยศพรมมา, กฤษดา เชียรวัฒนสุข","doi":"10.60101/mmr.2023.265907","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.265907","url":null,"abstract":"การเสริมประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ มีความสำคัญอย่างมากต่อการบริหารจัดการองค์การในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลทำให้หลายองค์การตระหนักถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงานให้มีความคล่องตัว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ยังช่วยลดอคติที่เกิดขึ้นจากมนุษย์ ทำให้ผลการประเมินการปฏิบัติงานมีความยุติธรรมสูงซึ่งนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่เหนือกว่าในอดีต อีกทั้งยังช่วยลดภาระงานเอกสารและการใช้ทรัพยากรที่สูญเปล่า ดังนั้นองค์การทั้งภาครัฐและเอกชนต่างมีการจัดหาและลงทุนในเทคโนโลยีดังกล่าว โดยอาจใช้การจัดซื้อจัดจ้างหรือการพัฒนาระบบภายในองค์การเองให้สอดคล้องกับความต้องการ ด้วยเหตุนี้ สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) จึงมีความต้องการที่จะเสริมประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยนำระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์มาช่วยในงานด้านทรัพยากรมนุษย์ จากเดิมที่เคยประเมินโดยใช้รูปแบบของเอกสารกระดาษ ซึ่งมีความล่าช้าและเกิดความผิดพลาดในการจัดทำข้อมูลสรุป เมื่อมีการนำระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์มาใช้ส่งผลให้เกิดความเป็นมาตรฐานที่น่าเชื่อถือและมีความถูกต้องแม่นยำ อันจะส่งผลให้การประเมินผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ปราศจากอคติและเกิดความเป็นธรรมแก่บุคลากรทุกระดับ","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"21 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139184729","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
相关产品
×
本文献相关产品
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信