{"title":"การจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับอุปสงค์ตลาด กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี","authors":"สุปรีชญา บุญมาก, พงศ์ชยนต์ ศรีสุวรรณ, ณัฐวรรณ สมรรคจันทร์","doi":"10.60101/mmr.2023.267866","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าการวางแผนการเก็บเกี่ยวในปัจจุบันเกษตรกรใช้ประสบการณ์การทำการเกษตรที่ผ่านมา จึงทำให้การวางแผนการเก็บเกี่ยวไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยมีวัตถุประสงค์ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายรวมในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่ต่ำที่สุด โดยค่าใช้จ่ายที่นำมาพิจารณามี 3 ส่วน คือ 1) ค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร 2) ค่าใช้จ่ายในการดูแลระหว่างที่สินค้าเกษตรค้างอยู่ในแปลงปลูก และ 3) ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเกษตรจากสมาชิกเกษตรกรในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และหาผลเฉลี่ยโดยใช้เครื่องมือโซลเวอร์ (Solver) ซึ่งเป็นฟังก์ชัน Add-ins ในโปรแกรมไมโครซอฟต์ เอ็กเซล (Microsoft Excel) ผลการวิจัยพบว่า หลังจากประยุกต์ใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้นในการนำมาจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมจากเดิม 226,626 บาท ลดลงเหลือ 188,025 บาท หรือ ค่าใช้จ่ายลดลง 38,601 บาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายลดลงร้อยละ 17.03 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านการวางแผนการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรของวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี และสร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น เพื่อใช้วางแผนการจัดการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับอุปสงค์ตลาด จากนั้นทำการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการจัดการการเก็บเกี่ยวระหว่างรูปแบบปัจจุบันและรูปแบบการใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยใช้ระเบียบวิจัยแบบผสมผสาน ทำการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเจาะจง โดยสัมภาษณ์ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 1 ราย และสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจำนวน 4 ราย","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"15 1-2","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-12-13","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับอุปสงค์ตลาด กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี\",\"authors\":\"สุปรีชญา บุญมาก, พงศ์ชยนต์ ศรีสุวรรณ, ณัฐวรรณ สมรรคจันทร์\",\"doi\":\"10.60101/mmr.2023.267866\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าการวางแผนการเก็บเกี่ยวในปัจจุบันเกษตรกรใช้ประสบการณ์การทำการเกษตรที่ผ่านมา จึงทำให้การวางแผนการเก็บเกี่ยวไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยมีวัตถุประสงค์ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายรวมในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่ต่ำที่สุด โดยค่าใช้จ่ายที่นำมาพิจารณามี 3 ส่วน คือ 1) ค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร 2) ค่าใช้จ่ายในการดูแลระหว่างที่สินค้าเกษตรค้างอยู่ในแปลงปลูก และ 3) ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเกษตรจากสมาชิกเกษตรกรในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และหาผลเฉลี่ยโดยใช้เครื่องมือโซลเวอร์ (Solver) ซึ่งเป็นฟังก์ชัน Add-ins ในโปรแกรมไมโครซอฟต์ เอ็กเซล (Microsoft Excel) ผลการวิจัยพบว่า หลังจากประยุกต์ใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้นในการนำมาจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมจากเดิม 226,626 บาท ลดลงเหลือ 188,025 บาท หรือ ค่าใช้จ่ายลดลง 38,601 บาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายลดลงร้อยละ 17.03 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านการวางแผนการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรของวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี และสร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น เพื่อใช้วางแผนการจัดการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับอุปสงค์ตลาด จากนั้นทำการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการจัดการการเก็บเกี่ยวระหว่างรูปแบบปัจจุบันและรูปแบบการใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยใช้ระเบียบวิจัยแบบผสมผสาน ทำการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเจาะจง โดยสัมภาษณ์ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 1 ราย และสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจำนวน 4 ราย\",\"PeriodicalId\":506335,\"journal\":{\"name\":\"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี\",\"volume\":\"15 1-2\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2023-12-13\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.267866\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.267866","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0