{"title":"人格维度和网络攻击性之间的关系:角色扮演、网络成瘾的媒介变量和道德情感的指导变量。","authors":"วิไลวรรณ ศรีสงคราม","doi":"10.55766/mhzf4416","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางบุคลิกภาพและความก้าวร้าวทางไซเบอร์โดยมีการติดไซเบอร์เป็นตัวแปรสื่อกลางและมีอารมณ์ทางจริยธรรมเป็นตัวแปรกำกับ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษา 870 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย แบบทดสอบมิติทางบุคลิกภาพ 3 มิติ ได้แก่ ลักษณะความเป็นชาย ลักษณะความเป็นหญิง และความหุนหันพลันแล่น แบบวัดการติดไซเบอร์ แบบวัดความก้าวร้าวทางไซเบอร์ และแบบวัดอารมณ์ทางจริยธรรม ใช้การวิเคราะห์ตัวแปรสื่อกลางและตัวแปรกำกับด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS Process ผลพบว่า (1) ความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางบุคลิกภาพและความก้าวร้าวทางไซเบอร์มีตัวแปรสื่อกลาง คือ การติดอินเทอร์เน็ตและการติดเกม (2) ความสัมพันธ์ระหว่างความหุนหันพลันแล่นและความก้าวร้าวทางไซเบอร์ในเพศชายและเพศหญิงมีตัวแปรกำกับคือ ความรู้สึกผิด แต่มีทิศทางที่ตรงกันข้ามกัน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะความเป็นชายและความก้าวร้าวทางไซเบอร์ มีความละอายแก่ใจเป็นตัวแปรกำกับเฉพาะในเพศหญิง (4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะความเป็นหญิงและความก้าวร้าวทางไซเบอร์ มีทั้งความรู้สึกผิดและความละอายแก่ใจเป็นตัวแปรกำกับเฉพาะในเพศชาย ผลลัพธ์เหล่านี้ได้เสนอแนะว่าความสัมพันธ์ระหว่างความหุนหันพลันแล่นและความก้าวร้าวทางไซเบอร์ของเพศหญิงจะลดลงได้เมื่อมีการกำกับจากความรู้สึกผิด นอกจากนี้ ลักษณะความเป็นหญิงยังเป็นตัวหน่วงเหนี่ยวทั้งการติดไซเบอร์และความก้าวร้าวทางไซเบอร์ได้มากกว่าอารมณ์ทางจริยธรรม ซึ่งสะท้อนว่า อารมณ์ทางจริยธรรมมีความสามารถที่จำกัดในการลดความก้าวร้าวทางไซเบอร์ในระหว่างเส้นทางลักษณะความเป็นชาย-ความก้าวร้าวทางไซเบอร์ และลักษณะความเป็นหญิง-ความก้าวร้าวทางไซเบอร์","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"47 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-05-12","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางบุคลิกภาพและความก้าวร้าวทางไซเบอร์: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อกลาง ของการติดไซเบอร์ และการเป็นตัวแปรกำกับของอารมณ์ทางจริยธรรม\",\"authors\":\"วิไลวรรณ ศรีสงคราม\",\"doi\":\"10.55766/mhzf4416\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางบุคลิกภาพและความก้าวร้าวทางไซเบอร์โดยมีการติดไซเบอร์เป็นตัวแปรสื่อกลางและมีอารมณ์ทางจริยธรรมเป็นตัวแปรกำกับ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษา 870 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย แบบทดสอบมิติทางบุคลิกภาพ 3 มิติ ได้แก่ ลักษณะความเป็นชาย ลักษณะความเป็นหญิง และความหุนหันพลันแล่น แบบวัดการติดไซเบอร์ แบบวัดความก้าวร้าวทางไซเบอร์ และแบบวัดอารมณ์ทางจริยธรรม ใช้การวิเคราะห์ตัวแปรสื่อกลางและตัวแปรกำกับด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS Process ผลพบว่า (1) ความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางบุคลิกภาพและความก้าวร้าวทางไซเบอร์มีตัวแปรสื่อกลาง คือ การติดอินเทอร์เน็ตและการติดเกม (2) ความสัมพันธ์ระหว่างความหุนหันพลันแล่นและความก้าวร้าวทางไซเบอร์ในเพศชายและเพศหญิงมีตัวแปรกำกับคือ ความรู้สึกผิด แต่มีทิศทางที่ตรงกันข้ามกัน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะความเป็นชายและความก้าวร้าวทางไซเบอร์ มีความละอายแก่ใจเป็นตัวแปรกำกับเฉพาะในเพศหญิง (4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะความเป็นหญิงและความก้าวร้าวทางไซเบอร์ มีทั้งความรู้สึกผิดและความละอายแก่ใจเป็นตัวแปรกำกับเฉพาะในเพศชาย ผลลัพธ์เหล่านี้ได้เสนอแนะว่าความสัมพันธ์ระหว่างความหุนหันพลันแล่นและความก้าวร้าวทางไซเบอร์ของเพศหญิงจะลดลงได้เมื่อมีการกำกับจากความรู้สึกผิด นอกจากนี้ ลักษณะความเป็นหญิงยังเป็นตัวหน่วงเหนี่ยวทั้งการติดไซเบอร์และความก้าวร้าวทางไซเบอร์ได้มากกว่าอารมณ์ทางจริยธรรม ซึ่งสะท้อนว่า อารมณ์ทางจริยธรรมมีความสามารถที่จำกัดในการลดความก้าวร้าวทางไซเบอร์ในระหว่างเส้นทางลักษณะความเป็นชาย-ความก้าวร้าวทางไซเบอร์ และลักษณะความเป็นหญิง-ความก้าวร้าวทางไซเบอร์\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"47 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-05-12\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/mhzf4416\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/mhzf4416","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0