{"title":"Nakhon Ratchasima丝绸供应链管理","authors":"ชนิศา มณีรัตนรุ่งโรจน์, ขวัญกมล ดอนขวา","doi":"10.55766/hwxf3730","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานและเพื่อให้ข้อเสนอแนะในการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของกลุ่มอาชีพผ้าไหมทอมือในจังหวัดนครราชสีมา โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 21 กล่มุ ใน 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอจกั ราช บัวใหญ่ เมืองยางและปักธงชัย และรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ไปวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงพรรณาและเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มอาชีพ (1) มีการวางแผนเพื่อการทำงานประจำวันจากประสบการณ์ (2) จัดซื้อวัตถุดิบด้วยเงินสด โดยใช้เกณฑ์คุณภาพและความสะดวกในการคัดเลือกผู้จำหน่ายวัตถุดิบ (3) ใช้แรงงานคนเป็นหลักในกระบวนการผลิต มีการแบ่งงานกันทำตามความถนัด และทำการผลิตตามประสบการณ์ (4) ส่วนใหญ่จำหน่ายผ้าไหมให้แก่ผู้ค้าส่ง และ (5) มีการรับคืนผ้าไหมจากลูกค้านอ้ ยมาก ดังนัน้ กลมุ่ อาชพี จึงควรมกี ารวางแผนและกำหนดเปา้ หมายในการดำเนินงาน พร้อมทั้งจดบันทึกข้อมูลผลการดำเนินงานเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงานของตน รวมทั้งควรสร้างเครือข่ายกับผู้ทอผ้าไหมด้วยกันเพื่อเพิ่มอำนาจในการต่อรองกับผู้จำหน่ายปัจจัยการผลิตและลูกค้า ในส่วนของภาครัฐควรส่งเสริมให้มีการฝึกอาชีพทอผ้าไหมแก่เยาวชน เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน และส่งเสริมให้มีสร้างเครือข่ายของกลุ่มอาชีพที่เกี่ยวกับผ้าไหมทอมือ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"15 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2018-12-27","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การจัดการโซ่อุปทานของผ้าไหมในจังหวัดนครราชสีมา\",\"authors\":\"ชนิศา มณีรัตนรุ่งโรจน์, ขวัญกมล ดอนขวา\",\"doi\":\"10.55766/hwxf3730\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานและเพื่อให้ข้อเสนอแนะในการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของกลุ่มอาชีพผ้าไหมทอมือในจังหวัดนครราชสีมา โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 21 กล่มุ ใน 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอจกั ราช บัวใหญ่ เมืองยางและปักธงชัย และรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ไปวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในเชิงพรรณาและเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มอาชีพ (1) มีการวางแผนเพื่อการทำงานประจำวันจากประสบการณ์ (2) จัดซื้อวัตถุดิบด้วยเงินสด โดยใช้เกณฑ์คุณภาพและความสะดวกในการคัดเลือกผู้จำหน่ายวัตถุดิบ (3) ใช้แรงงานคนเป็นหลักในกระบวนการผลิต มีการแบ่งงานกันทำตามความถนัด และทำการผลิตตามประสบการณ์ (4) ส่วนใหญ่จำหน่ายผ้าไหมให้แก่ผู้ค้าส่ง และ (5) มีการรับคืนผ้าไหมจากลูกค้านอ้ ยมาก ดังนัน้ กลมุ่ อาชพี จึงควรมกี ารวางแผนและกำหนดเปา้ หมายในการดำเนินงาน พร้อมทั้งจดบันทึกข้อมูลผลการดำเนินงานเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงานของตน รวมทั้งควรสร้างเครือข่ายกับผู้ทอผ้าไหมด้วยกันเพื่อเพิ่มอำนาจในการต่อรองกับผู้จำหน่ายปัจจัยการผลิตและลูกค้า ในส่วนของภาครัฐควรส่งเสริมให้มีการฝึกอาชีพทอผ้าไหมแก่เยาวชน เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน และส่งเสริมให้มีสร้างเครือข่ายของกลุ่มอาชีพที่เกี่ยวกับผ้าไหมทอมือ\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"15 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2018-12-27\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/hwxf3730\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/hwxf3730","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0