{"title":"对农业土地所有权的不平等与家庭成员数量和收入的关系进行了分析。","authors":"สืบพงษ์ พงษ์สวัสดิ์, จารุณี ภัทรวงษ์ธนา, ธรรมพร หาญผจญศึก","doi":"10.55766/bshu1036","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจขอบเขตการถือครองที่ดินและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2) วิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมของการถือครองที่ดินและรายได้ของครัวเรือน และ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเนื้อที่ถือครองที่ดินกับจำนวนสมาชิกในครัวเรือนและรายได้ของครัวเรือน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ได้เจาะจงศึกษาครัวเรือนเกษตรกรทั้งหมด 19 ครัวเรือนของบ้านห้วยปูน้อย ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แผนที่ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดสูงเป็นเครื่องมือ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรมีความเข้าใจแผนที่ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดสูง สามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่จริง ทำให้ลากขอบเขตแปลงที่ดินของเกษตรกรได้ จากการวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์พบว่าพื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมด 1,757.54 ไร่ แบ่งเป็นแปลงถือครองทั้งหมด 92 แปลง ถือครองโดยเกษตรกร 17 ครัวเรือน โดยมี 2 ครัวเรือนที่ไม่มีพื้นที่ทำกิน แปลงที่ดินถือครองแต่ละแปลงมีเนื้อที่รวมเฉลี่ย 13.33 ไร่ และแต่ละครัวเรือนมีแปลงถือครองโดยเฉลี่ย 5 แปลง ความไม่เท่าเทียมของรายได้มีค่าสัมประสิทธิ์จีนี 0.38 และ 0.73 และการถือครองที่ดินกระจุกตัวอยู่ในบางครัวเรือน เนื้อที่ถือครองกับจำนวนสมาชิกในครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน (r = 0.54)โดยเนื้อที่ถือครองเป็นผลมาจากจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเพียงร้อยละ 29 ( r2= 0.29). ส่วนเนื้อที่ถือครองกับรายได้ครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ( r=0.07) โดยเนื้อที่ถือครองเป็นผลมาจากรายได้ของครัวเรือนเพียงร้อยละ 1 เท่านั้น (r2 = 0.01).","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"55 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-05-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การวิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมของการถือครองที่ดินทำการเกษตรกับความสัมพันธ์ของจำนวนสมาชิก และรายได้ครัวเรือน บ้านห้วยปูน้อย อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่\",\"authors\":\"สืบพงษ์ พงษ์สวัสดิ์, จารุณี ภัทรวงษ์ธนา, ธรรมพร หาญผจญศึก\",\"doi\":\"10.55766/bshu1036\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจขอบเขตการถือครองที่ดินและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2) วิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมของการถือครองที่ดินและรายได้ของครัวเรือน และ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเนื้อที่ถือครองที่ดินกับจำนวนสมาชิกในครัวเรือนและรายได้ของครัวเรือน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ได้เจาะจงศึกษาครัวเรือนเกษตรกรทั้งหมด 19 ครัวเรือนของบ้านห้วยปูน้อย ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แผนที่ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดสูงเป็นเครื่องมือ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรมีความเข้าใจแผนที่ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดสูง สามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่จริง ทำให้ลากขอบเขตแปลงที่ดินของเกษตรกรได้ จากการวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์พบว่าพื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมด 1,757.54 ไร่ แบ่งเป็นแปลงถือครองทั้งหมด 92 แปลง ถือครองโดยเกษตรกร 17 ครัวเรือน โดยมี 2 ครัวเรือนที่ไม่มีพื้นที่ทำกิน แปลงที่ดินถือครองแต่ละแปลงมีเนื้อที่รวมเฉลี่ย 13.33 ไร่ และแต่ละครัวเรือนมีแปลงถือครองโดยเฉลี่ย 5 แปลง ความไม่เท่าเทียมของรายได้มีค่าสัมประสิทธิ์จีนี 0.38 และ 0.73 และการถือครองที่ดินกระจุกตัวอยู่ในบางครัวเรือน เนื้อที่ถือครองกับจำนวนสมาชิกในครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน (r = 0.54)โดยเนื้อที่ถือครองเป็นผลมาจากจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเพียงร้อยละ 29 ( r2= 0.29). ส่วนเนื้อที่ถือครองกับรายได้ครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ( r=0.07) โดยเนื้อที่ถือครองเป็นผลมาจากรายได้ของครัวเรือนเพียงร้อยละ 1 เท่านั้น (r2 = 0.01).\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"55 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-05-09\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/bshu1036\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/bshu1036","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0