{"title":"การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21","authors":"บุญญลักษม์ ตำนานจิตร","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.003","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการออกแบบกระบวนการเรียนการสอนเพื่อสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาให้แก่นักศึกษา การสร้างให้ผู้เรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาจำเป็นต้องนำการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งที่มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย โดยมีรากฐานแนวคิดจากทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้โดยการลงมือกระทำ รู้จักคิดแก้ปัญหาด้วยตนเองและสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในชั้นเรียน ผู้สอนต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน คอยส่งเสริมให้คำปรึกษา กระตุ้นให้ผู้เรียนตื่นตัว สนใจเนื้อหาบทเรียน และเกิดการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา การให้ความสำคัญกับการวางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์มีความสามารถในการแก้ปัญหา เนื่องจากความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเป็นหนึ่งในทักษะที่จำเป็นของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดการวัดการประเมินผลของ PISA ซึ่งเป็นการประเมินผลการเรียนรู้จากการทดสอบระดับนานาชาติของ Organization for Economic Cooperation and Development (OECD) ทำให้ทักษะการแก้ปัญหาเป็นหนึ่งในผลลัพธ์การเรียนรู้","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"64 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal Of Technical Education Development","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.003","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยใช้สือและแหล่งเรียนรู้ใน↪LoE28↩ตวรษที่ 21 เป็นการอกแบกระบวนการเรียนการสอเพื่อสร้าความสามาร↪LoE16↩↪LoE43↩นการแก้ัป↪LoE0D↩หา↪LoE43↩ห้แก่นัก↪LoE28↩ึกษาการสรางให้ผูเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาจำเป็นต้องนำการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning)เซี่งเป็นแนวทางหนที่งมีกจิกรรมการเรียนการสอเที่งหนทีย โดมียรากฐานแนวิคดจากทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งเดียนทให้ผู้เรียนเปนทศูนย์ลางการเรียนรู้สร้างองค์ความรู้ดวยตนเอง เรียนรู้โดยการลงมือกระทำ รู้จักคิดแก้ปัญหาด้วยตนเองและสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในชั้นเรียนผู้สอนต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน คอยส่งเสริมให้คำปรึกษา กระตุ้นให้ผู้เรียนตืนต่ตัวสนใจเนือหาบทเเรียน และเกิดการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา การให้ความสำคัญกับการวางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์มีความสามารถในการแกป้ัญหาเนืองจากความารถในการคิดแก้ปัญหาเป็นหน่ึงในทักษะที่จำเป็นของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดการวัดการประเมินผลของ pisa经济合作与发展组织(OECD) ทำใหทักษะารแกปัญหาเดียนรู้จาการทดอบระดับนานาชติของ 经济合作与发展组织(OECD) ทำใหทักษะารแกปัญหาเดียนรู้จาการทดอบระดับนานาชติของ 经济合作与发展组织(OECD) ทำใหทักษะารแกปัญหาเดียนรู้จาการทดอบระดับนานาชติของ
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。