{"title":"สภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง หลักสูตรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย","authors":"ปารเมศ รินทะวงศ์, ต้นข้าว ปาณินท์","doi":"10.14416/j.ted.2024.03.006","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) ในสถาบันอุดมศึกษาประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) ในสถาบันอุดมศึกษาประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 90 คน ประกอบด้วยอาจารย์ 10 คน ผู้สำเร็จการศึกษา 50 คน สถาปนิก 20 คน และวิศวกร 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามตามความคิดเห็นต่ออุปสรรคและปัญหาการจัดการเรียนการสอน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องที่ส่งผลต่อการสอน และด้านสภาพแวดล้อมเกี่ยวกับพื้นที่ว่างและอาคาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) ในสถาบันอุดมศึกษาประเทศไทย ด้านที่ 1 ด้านการเรียนการสอน การสอนทฤษฎี อาจารย์ ผู้สำเร็จการศึกษา และสถาปนิก มีความคิดเห็นว่า เนื้อหาทฤษฎีเป็นอุปสรรคและปัญหามากที่สุด แต่วิศวกร มีความคิดเห็นว่า การอธิบายเนื้อหาและประสบการณ์ของผู้สอนเป็นปัญหามากที่สุด การสอนภาคปฏิบัติ ทุกคนให้ความคิดเห็นว่า การปฏิบัติงานจริงเป็นอุปสรรคและปัญหามากที่สุด การศึกษาด้วยตนเอง อาจารย์ความคิดเห็นว่า การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ การสำรวจและการเก็บข้อมูลจากสถานที่จริงเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการสอนมากที่สุด ผู้สำเร็จการศึกษา มีความคิดเห็นว่า การสำรวจและการเก็บข้อมูลจากสถานที่จริงเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการสอนมากที่สุด สถาปนิก และวิศวกร มีความคิดเห็นว่า หนังสือเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด การค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือเป็นอุปสรรคและปัญหามากที่สุด ด้านที่ 2 องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีด้านการก่อสร้าง 3 กลุ่ม Software Platform เช่น Building Information Modeling (BIM) อาจารย์ ผู้สำเร็จการศึกษา สถาปนิก มีความคิดเห็นว่า การมีองค์ความรู้แต่ยังไม่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด วิศวกร มีความคิดเห็นว่า Equipment and System (Prefabs) และ Construction Robotics อาจารย์ มีความคิดเห็นว่า มีองค์ความรู้แต่ยังไม่มีความเชี่ยวชาญเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด ผู้สำเร็จการศึกษามีความคิดเห็นว่า มีองค์ความรู้แต่ยังไม่มีความเชี่ยวชาญเป็นอุปสรรคและขาดแคลนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการพัฒนาองค์ความรู้ เป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด สถาปนิกมีความคิดเห็นว่า ยังไม่มีประสบการณ์และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องและมีองค์ความรู้แต่ยังไม่มีความเชี่ยวชาญเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด วิศวกร มีความคิดเห็นว่า ขาดแคลนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการพัฒนาองค์ความรู้เป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด User Interface เช่น Virtual Reality (VR) อาจารย์ มีความคิดเห็นว่า ยังไม่มีประสบการณ์และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด ผู้สำเร็จการศึกษา และวิศกร มีความคิดเห็นว่า ขาดแคลนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการพัฒนาองค์ความรู้ เป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด สถาปนิก มีความคิดเห็นว่า มีองค์ความรู้แต่ยังไม่มีความเชี่ยวชาญเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด เสนอแนะว่า ควรให้มีการพัฒนาการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาในช่วงชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 ด้านที่ 3 ด้านสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน พื้นที่ว่าง อาจารย์ และสถาปนิก เห็นควรให้มีการพัฒนาสภาพแวดล้อมด้านพื้นที่ใช้ในก่อสร้างจริงของอาคารตัวอย่างเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุด ผู้สำเร็จการศึกษาเห็นควรให้มีการพัฒนาพื้นที่ใช้ในการสอนด้วยรูปแบบการปฏิบัติเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุด วิศวกรเห็นควรให้มีการพัฒนาสภาพแวดล้อมด้านพื้นที่ใช้ในการสอนด้วยรูปแบบการปฏิบัติเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุด และมีข้อเสนอแนะว่า ควรมีสิ่งอำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนและผู้สอน มีพื้นที่สำหรับจัดกิจกรรมอเนกประสงค์ จัดสัมมนาและนิทรรศการ ควรให้ผู้เรียนมีส่วนในการออกแบบ เน้นการปฏิบัติงานจริง อาคาร อาจารย์ และสถาปนิก มีความคิดเห็นว่า ด้านขนาดพื้นที่ต่อการใช้งานของอาคารเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุด ผู้สำเร็จการศึกษา และวิศวกร มีความคิดเห็นว่า ด้านสภาพแวดล้อมและบริบทโดยรอบอาคารเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุด และมีข้อเสนอแนะอาคารสามารถรองรับการสอนตามรูปแบบการปฏิบัติการ สามารถนำไปใช้ได้ในระบบการทำงานจริงมีพื้นที่ใช้สอยเหมาะสมกับการทำงานและสามารถผ่อนคลาย เพียงพอกับจำนวนของผู้ใช้ พื้นที่ในอาคารควรมีมุมสงบ สามารถนั่งเล่น พักผ่อนหย่อนใจและมีอากาศถ่ายเทสะดวก เหมาะในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม สภาพแวดล้อมและการจัดวางพื้นที่โดยรอบสนับสนุนต่อการทำงาน มีห้องปฏิบัติการ สำหรับการทดลองหลาย ๆ รูปแบบ เพื่อรองรับความคิดเห็นของนักศึกษา 2) ผลการศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) ในสถาบันอุดมศึกษาประเทศไทย ด้านที่ 1 ด้านการเรียนการสอน การสอนทฤษฎี เสนอแนะว่าควรมีการพัฒนาการเรียนการสอน การปฏิบัติงานจริงให้กับนักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 การสอนภาคปฏิบัติ เสนอแนะว่า ควรมีการพัฒนาการเรียนการสอน การปฏิบัติงานจริงให้กับนักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 การศึกษาด้วยตนเอง เสนอแนะว่า ควรมีการพัฒนาการเรียนการสอน การปฏิบัติงานจริงให้กับนักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 ด้านที่ 2 องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีด้านการก่อสร้าง 3 กลุ่ม Software Platform เช่น Building Information Modeling (BIM) เสนอแนะว่า ควรมีการพัฒนาการเรียนการสอน การปฏิบัติงานจริงให้กับนักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 Equipment and System (Prefabs) และ Construction Robotics เสนอแนะว่า ควรมีการพัฒนาการเรียนการสอน การปฏิบัติงานจริงให้กับนักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 และชั้นปีที่ 5 User Interface เช่น Virtual Reality (VR) เสนอแนะว่า ควรมีการพัฒนาการเรียนการสอน การปฏิบัติงานจริงให้กับนักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 ด้านที่ 3 ด้านสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน พื้นที่ว่าง มีพื้นที่สำหรับการจัดทำกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย สามารถเข้าใช้พื้นที่ได้สะดวก รวดเร็ว มีอุปกรณ์ให้ใช้หลากหลาย ในการทำ Workshop มีพื้นที่ที่มีอุปกรณ์การก่อสร้าง พื้นที่ให้ลงมือทำงานเองได้จริง โดยได้สัมผัสกับประสบการณ์จริงด้วยตนเองของผู้เรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจการทำงานมากขึ้น มีอุปกรณ์ที่ทันสมัยและเหมาะสมต่อเทคโนโลยีก่อสร้างในปัจจุบันและอนาคต มีพื้นที่การปฏิบัติสำหรับทำการสัมมนา และจัดนิทรรศการ (Exhibition) สำหรับอาคาร สามารถรองรับการสอนตามรูปแบบการปฏิบัติการ สามารถนำไปใช้ได้ในระบบการทำงานจริงมีพื้นที่ใช้สอยเหมาะสมกับการทำงาน เหมาะในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมสนับสนุนต่อการทำงาน มีห้องปฏิบัติการ สำหรับการทดลอง รองรับการจัดแสดงผลงาน นำเสนอผลงานของนักศึกษา","PeriodicalId":120890,"journal":{"name":"Journal Of Technical Education Development","volume":"44 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal Of Technical Education Development","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.14416/j.ted.2024.03.006","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
สภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง หลักสูตรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) ในสถาบันอุดมศึกษาประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) ในสถาบันอุดมศึกษาประเทศไทย กลงุ่มตัวอย่างแบเจาะจง จำนวน 90 คน ประกอบด้วยอาจาร์ย 10 คน ผู้สำเร็จการศึกษา 50 คน สถาปนิก 20 คน และิวศวกร 10 คนเครืองมือที่ใช้ในการวจิัยเป็นแบสบถามตามความคิเดหน็ต่อุปสรคและปัญหาการจัดการเรียนการสอน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านเทคนโยีที่เียวข้องที่ส่งผลต่อการสอนและด้านสภาพแวดล้อมเกี่ยวกับพื้นที่ว่างและอาคาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1)ผลารศึกษาอุปสรคแลปะัญหาที่สงผลต่อการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนหายีการอสร้าง สาขาวิชสาถาปัตยกรรม ศึกษาหาลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) ในสถาบันอุดมศึกษาประเทศไทย ด้านที่ 1 ด้านการเรียนการสอน การสอนทฤษฎี อาจารย์ ผูส้ำเร็จการศึกษา และสถาปนิก มีความคิดเห็นว่าเนือหาทฤษฎีเป็นอุปสรคและปัญหามากที่สุด แต่วิศวกร มีควาคมิดเห็นว่า การอธิบายเนื้อหาและปสบารณ์ของผู้สอนเป็นปัญหามากที่สุดการสอนภาคปฏิบัติ ทุกคนให้ความคิดเห็นว่า การปฏิบัติงานจริงเป็นอุปสรคและปัญหามากที่สุด การศึกษาด้วยตินเอง อาจารย์ความคิดเห็นว่าการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ การสำรวจและการเก็บข้อมูลจากสถานที่จริงเป็นอุปสรคและปัญหาที่ส่งผตลอการสอนมากที่สุดผู้สำเร็จการศึกษา มีความคิดเห็นว่า การสำรวแจละการเก็บข้อมลูจากสถานที่จริงเป็นอุปสรคและปัญหาที่สงผลตอการสอนมากที่สุดสถาปนิกและวิศวกร มีความคิดเห็นว่า หนังสอืเป็นอุปสรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด2 ลงค์ความรู้ากหังสือเป็นอุปสรคและปญหามากที่สุด ด้านที่ 2 องค์ความรู้ทางเทคโนโยีด้านกากร่อสร้าง3 กลุ่ม 软件平台 เช่น 建筑信息建模 (BIM) อาจารย์ ผู้สำเร็จการศึกษา สถาปนิก มีความคิดเห็นว่า设备和系统(Prefabs)和系统(预制) และ 建筑机器人 อาจารย์ มีความคิดเห็นว่า มีองค์ความรู้แต่ยังไม่มีความเชี่ยวชาญเป็นอุปสรคและปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุดผู้สำเร็จการศึกษามีความคิดเห็นว่า มีองค์ความรู้แต่ยังไม่มีความเชี่ยวชาญเป็นอุปสรรคและขาดแคลนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการพัฒนาองค์ความรู้ เป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด สถาปนิกมีความคิดเห็นว่าวิศวกร มีความคิเดห็นว่า ขาดแคลนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการพัฒนาองค์ความรู้เป็นอุปสรคและปัญหาที่ส่งผต่อการเรียนการสอนมาที่สุด用户界面 虚拟现实(VR) เมีความคิดเห็นว่า ยังไมี่ประสบการณ์และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอุปสรคแลปะัญหาที่สงผต่อการเรียนการสอนามกที่สุดผู้สำเร็จการศึกษา และวิศกร มีความคิดเห็นว่าขาดแคนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการพัฒนาองค์ความรู้ เป็นอุปสรคและปัญหาที่สงผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด สถาปนิกมีความคิดเห็นว่า มีองค์ความรู้แต่ยังไม่มีความเชี่ยวชาญเป็นอุปสรคแะปัญหาที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุดเสนอแนะว่า ควรให้มีการพัฒนาการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาในช่วงชั้นปที่ 3 และชั้นปีที่ 4 ด้านที่ 3 ด้านสภาพแวดล้อมที่เียวข้องกับการเรียนการสอน พื้นที่วาง อาจารย์ และสถาปนิกเห็นควรใหมีการพัฒนาสภาพแวดล้อมด้านพืนที่ใช้ในก่อสร้างจริงของอย่างเป็นอุปสรคแลปะัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุดวิศวกรเห็นควรใหมีการพัฒนาสภาพแวดล้อมด้านพืนที่ใช้ในการสอนด้วยรูปแบบการปฏิบัติเป็นอุปสรคและปัญหาที่สงผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุดและมีข้อเสนอและว่าควรมีสิ่งอำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนและผู้สอน มีพ้ืนที่สำหรับจัดกิจกรรมอเนกประสงค์จัดสัมนาและนิทรรศการ ควรใ้หาผู้เรียนมีส่วนในการอกแบบ เน้นการปฏิบัติงาจนริง อาคาร อจาารย์ และสถาปนิกมีความคิดเห็นว่า ด้านขนาดพื้นที่ต่อการใช้งานของาคารเป็นอุปสรคและปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุดผู้สำเร็จการศึกษา และวิศวกร มีความคิดเห็นว่า ด้านสภาพแวดล้อมและบริบทโดยรอบอาคารเป็นอุปสรรคและปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอนมากที่สุด และมีข้อเสนอแนะอาคารสามารถรองรับการสอนตามรูปแบบการปฏิบัติการสามารถนำไปใช้ได้ในระบบากรทำงานจริงมีพืนที่ใช้สอยเหมาะสมกับการทำงานและสามารถผ่อนคลาย เพียงพอักบจำนวนของผู้ใช้พื้นที่ในอาคารควรมีมุมสงบ สามารถนั่งเล่น พักผ่อนหย่อนใจแะลมีอากาศถ่ายเทะดวกเ หมาะในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมสภาพแวดล้อมแและการจัดวางพื้นที่โดยรอบสนับสุนต่อการทำงาน มีห้องปฏิบัติการ สำหรับการทดลองหลาย ๆ รูปแบบ เพื่อรองรับความคดิเเ็ของนักศึกษา 2)ผศึกษาข้อเสนอแนละแนวทางการพัฒนาการเรียนารสอนรายวิาเทคโนลีการก่อสร้าง สาขาวิชาสถปัตยกรรมศึษกาหักสูตรสถาปัยตรมศาสกรบัณฑิต (สถ.บ.
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。