ประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

สุจินดา คงเนียม, สุทธีพร มูลศาสตร์, สมนึก สกุลหงส์โสภณ
{"title":"ประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง","authors":"สุจินดา คงเนียม, สุทธีพร มูลศาสตร์, สมนึก สกุลหงส์โสภณ","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.266842","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ทำให้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะโรคหัวใจ และหลอดเลือด การศึกษาที่ผ่านมาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ ด้านสุขภาพ ดังนั้นการพัฒนาให้ผู้ป่วยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม และเป็นการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด \nวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด \nการออกแบบวิจัย การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง \nวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ อาศัยอยู่ใน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าดังนี้ 1) ความดันโลหิตซิสโตลิกอยู่ระหว่าง 140-179 มิลลิเมตรปรอท หรือระดับความดันโลหิตไดแอสโตลิกอยู่ระหว่าง 90-109 มิลลิเมตรปรอท และ 2) มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด เลือกตัวอย่างโดยการสุ่มแบบชั้นภูมิ จัดเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 35 คน เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีระยะเวลา 12 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วยการอบรม เชิงปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพเชิงกระบวนการคิด พัฒนาการสื่อสารความรู้ทั่วไป พัฒนาความรู้เฉพาะโรค และ การติดตามการปฏิบัติตัวโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 2) คู่มือความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด 3) แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4) แบบสอบถามพฤติกรรม การดูแลตนเอง และ 5) แบบบันทึกคะแนนโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในระยะ 10 ปีข้างหน้า ผลการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือส่วนที่ 1-4 เท่ากับ 1.00, 1.00, .86 และ 1.00 ตามลำดับ และการตรวจสอบความเชื่อมั่นแบบคูเดอร์-ริชาร์ดสัน ของเครื่องมือส่วนที่ 3 ได้ค่า KR-20 เท่ากับ .82 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของเครื่องมือส่วนที่ 4 เท่ากับ .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independent t-test, Paired t-test, Mann Whitney U test และ Wilcoxon Signed Ranks test \nผลการวิจัย ตัวอย่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบมีคุณลักษณะคล้ายคลึงกัน ได้แก่ อายุเฉลี่ย 59.31 ปี (SD 7.38) และ 59.63 ปี (SD 6.64) ตามลำดับ การศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 74.29 และ 68.57 ตามลำดับ) ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ย ความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยรวม (M 125.63, SD 4.33) และพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวม (M 4.63, SD 0.23) มากกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม (M 84.71, SD 14.12, p<.001; M 3.50, SD 0.46, p<.001, respectively) และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (M 87.63, SD 13.91, p<.001; M 3.44, SD 0.37, p<.001, respectively) และมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (M 7.26, SD 3.39) น้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม (M 9.92, SD 5.03, p <.001) และน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (M 10.50, SD 6.28, p = .031) \nข้อเสนอแนะ พยาบาลวิชาชีพและทีมสุขภาพสามารถนำโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพไปประยุกต์ใช้ ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในชุมชนเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.266842","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

บทนำ โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ทำให้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะโรคหัวใจ และหลอดเลือด การศึกษาที่ผ่านมาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ ด้านสุขภาพ ดังนั้นการพัฒนาให้ผู้ป่วยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม และเป็นการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด  วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด  การออกแบบวิจัย การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง  วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ อาศัยอยู่ใน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าดังนี้ 1) ความดันโลหิตซิสโตลิกอยู่ระหว่าง 140-179 มิลลิเมตรปรอท หรือระดับความดันโลหิตไดแอสโตลิกอยู่ระหว่าง 90-109 มิลลิเมตรปรอท และ 2) มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด เลือกตัวอย่างโดยการสุ่มแบบชั้นภูมิ จัดเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 35 คน เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีระยะเวลา 12 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วยการอบรม เชิงปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพเชิงกระบวนการคิด พัฒนาการสื่อสารความรู้ทั่วไป พัฒนาความรู้เฉพาะโรค และ การติดตามการปฏิบัติตัวโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 2) คู่มือความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด 3) แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4) แบบสอบถามพฤติกรรม การดูแลตนเอง และ 5) แบบบันทึกคะแนนโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในระยะ 10 ปีข้างหน้า ผลการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือส่วนที่ 1-4 เท่ากับ 1.00, 1.00, .86 และ 1.00 ตามลำดับ และการตรวจสอบความเชื่อมั่นแบบคูเดอร์-ริชาร์ดสัน ของเครื่องมือส่วนที่ 3 ได้ค่า KR-20 เท่ากับ .82 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของเครื่องมือส่วนที่ 4 เท่ากับ .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independent t-test, Paired t-test, Mann Whitney U test และ Wilcoxon Signed Ranks test  ผลการวิจัย ตัวอย่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบมีคุณลักษณะคล้ายคลึงกัน ได้แก่ อายุเฉลี่ย 59.31 ปี (SD 7.38) และ 59.63 ปี (SD 6.64) ตามลำดับ การศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 74.29 และ 68.57 ตามลำดับ) ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ย ความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยรวม (M 125.63, SD 4.33) และพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวม (M 4.63, SD 0.23) มากกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม (M 84.71, SD 14.12, p<.001; M 3.50, SD 0.46, p<.001, respectively) และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (M 87.63, SD 13.91, p<.001; M 3.44, SD 0.37, p<.001, respectively) และมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (M 7.26, SD 3.39) น้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม (M 9.92, SD 5.03, p <.001) และน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (M 10.50, SD 6.28, p = .031)  ข้อเสนอแนะ พยาบาลวิชาชีพและทีมสุขภาพสามารถนำโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพไปประยุกต์ใช้ ในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในชุมชนเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด
ประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
มตังที่ทำใหมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะโรคหัวใจ มตังที่ทำใหมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะโรคหัวใจ มตังที่ทำศึกษาที่ผานมาพฤติกรมารรมารรดแตังที่ทำใจการศึกษาที่ผ่านมาพฤติกรรมการดแลูตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลิตสูงมีความสัพันธ์กับควมารอบรู้ ด้านสุภาพดังนั้นการพัฒนาให้ผูป่วยมีความรอบรู้ดานสุขภาพจะส่งผลให้ผูป่วยมีพฤติกรรมการูดแลตนเองที่เหมาะสมและเป็นการป้องกันโรคหัวใจและหลอเลือด วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อ↪LoE28↩ึกษาผลของโปรแกรมพั↪LoE12↩นาความรอบรู้านสุขภาพต่อความรอบรู้านสุขภาพฤติกรรมการดูแลตนเอง และโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด การออกแบบวิจัย การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลองวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคความดันโหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโหิตไมดันอาศัยอยู่ใน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าดังนี้ 1) ความดันโลาหิตซิสโติกอยู่ระหว่าง 140-179 มิลาเมตรปรอทหรอืระบัความดันโลาหติไแสอตโลากอยู่ระหว่าง 90-109 มิลาเมตรปรอท และ 2) มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหอกตัวอย่างโดยการสุ่มแบชั้นภูมิ จัดเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 35คน เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1)โปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีระยะเวลา 12 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วยการอบรม เชิงปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพเชิงกระบวนการคิด พัฒนาการสื่อสารความรู้ทั่วไป พัฒนาความรู้เฉพาะโรค และการติดตามการปฏิบัติตัวโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 2) คู่มือความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด 3) แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4)แบบสอบถามพฤติกรรม การดูแลตนเอง และ 5) แบบบันทึกคะแนนโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในระยะ 10 ปีข้างหน้า ผลการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือส่วนที่ 1-4 เท่ากับ 1.1.00, 1.00, .86 และ 1.00 ตามลำดับ และการตรวจสอบความเชื่อมั่นแบบคูเดอร์-ริชาร์ดสัน ของเครื่องมือส่วนที่ 3 ได้ค่า kr-20 เท่ากับ .82 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของเครืองมือส่วนที่ 4 เท่ากับ .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independent t-test, Paired t-test、Mann Whitney U test และ Wilcoxon Signed Ranks test เE1C↩ลการวิจัย ตัวอย่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบมีคุคณลักษณคะล้ายคลึงกัน ได้แก่ อายุเฉลี่ย 59.31 ปี (sd 7.38) และ 59.63 ปี (sd 6.64) ตามลำดับ การศึษการะดับประถมศึกษา (ร้อยละ 74.29 และ 68.57 ตามลำดับ) ภายหาลังเข้าร่วมโปรแกรมผู้่ปวยโรความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหาลอือดในกรุ่มทดลองมีคะแนเฉลี่ย ความรอบรูด้านสุขภาพโดยรวม (m 125.63, SD 4.33) และพฤติกรรมการูดแลตนเองโดยรวม (M 4.63, SD 0.23) มากกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม (M 84.71, SD 14.12, p<.001; M 3.50, SD 0.46, p<.001, respectively) และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (M 87.63,SD 13.91,p<.001;M 3.44,SD 0.37,p<.001,分别) และมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจแะหาลอกอด (M 7.26,SD 3.39) น้อยกว่าก่นเข้าร่วมโปรแกรม (M 9.92,SD 5.03,p<.001) เปรียบเทียบ (M 10.50, SD 6.28, p = .031) ข้อเสนอแนะ พยาบาลวิชาชีพและทีมสุขภาพสามารถนำโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผ้่ปวยโรความดันโลหัวใจและหลอดอืดในชุมนเพื่อป้องกันโรหัวใจและหลอดออืด
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信