ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในชุมชนแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร

พิไลวรรณ ใจชื้น
{"title":"ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในชุมชนแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร","authors":"พิไลวรรณ ใจชื้น","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.266375","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ การใช้สื่อสังคมออนไลน์มีประโยชน์ในการสืบค้นความรู้และทักษะหรือการสื่อสาร อย่างไรก็ตาม การขาดทักษะที่ดีในการใช้สื่ออาจมีความเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งเป็นกลุ่มที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ค่อนข้างมาก \nวัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ทักษะการรู้เท่าทันสื่อ และพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่น และ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับ การศึกษา) และทักษะการรู้เท่าทันสื่อ กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในชุมชนแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร \nการออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ \nวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นอายุ 13-19 ปี จำนวน 371 คนที่ศึกษาในโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร เขตหลักสี่ คัดเลือกตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนมีนาคม 2565 โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ แบบสอบถามทักษะการรู้เท่าทันสื่อ และแบบสอบถามพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งมีค่าดัชนี ความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ .98 และ 1.00 ตามลำดับ วิเคราะห์ความเชื่อมั่น ของเครื่องมือโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ค่าเท่ากับ .88 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา Spearman correlation, Point biserial correlation และ Biserial correlation \nผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงมากที่สุด (ร้อยละ 49.87) อายุเฉลี่ย 15.27 ปี (SD=1.67) การศึกษาระดับมัธยมต้น (ร้อยละ 49.33) ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 84.90) ช่วงเวลาที่ ใช้สื่อสังคมออนไลน์มากที่สุดคือ 16.01-24.00 น. (ร้อยละ 66.04) เหตุผลในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ คือเพื่อความสนุก (ร้อยละ 78.44) ค่าเฉลี่ยทักษะการรู้เท่าทันสื่อโดยรวมอยู่ในระดับดี (M=3.58, SD=0.77) ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในภาพรวมอยู่ในระดับต่ำ (M=1.94, SD=0.43) เพศและอายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติในระดับต่ำ (rpb=-.112, p=.032 และ rs=.139, p=.007 ตามลำดับ) ส่วนระดับการศึกษาและ ทักษะการรู้เท่าทันสื่อไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (rb = .064, p = .216 และ rs=-.003, p=.948 ตามลำดับ) \nข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับชุมชนเขตหลักสี่ ทีมสหวิชาชีพและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการวางแผนติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะในด้านคุณภาพการนอนหลับและการเสพติดสื่อสังคมออนไลน์ รวมทั้งการส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันสื่อโดยเฉพาะ ด้านการสร้างสรรค์และการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของวัยรุ่น","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.266375","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

บทนำ การใช้สื่อสังคมออนไลน์มีประโยชน์ในการสืบค้นความรู้และทักษะหรือการสื่อสาร อย่างไรก็ตาม การขาดทักษะที่ดีในการใช้สื่ออาจมีความเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งเป็นกลุ่มที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ค่อนข้างมาก  วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ทักษะการรู้เท่าทันสื่อ และพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่น และ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับ การศึกษา) และทักษะการรู้เท่าทันสื่อ กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในชุมชนแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร  การออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์  วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นอายุ 13-19 ปี จำนวน 371 คนที่ศึกษาในโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร เขตหลักสี่ คัดเลือกตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนมีนาคม 2565 โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ แบบสอบถามทักษะการรู้เท่าทันสื่อ และแบบสอบถามพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งมีค่าดัชนี ความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ .98 และ 1.00 ตามลำดับ วิเคราะห์ความเชื่อมั่น ของเครื่องมือโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ค่าเท่ากับ .88 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา Spearman correlation, Point biserial correlation และ Biserial correlation  ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงมากที่สุด (ร้อยละ 49.87) อายุเฉลี่ย 15.27 ปี (SD=1.67) การศึกษาระดับมัธยมต้น (ร้อยละ 49.33) ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ 84.90) ช่วงเวลาที่ ใช้สื่อสังคมออนไลน์มากที่สุดคือ 16.01-24.00 น. (ร้อยละ 66.04) เหตุผลในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ คือเพื่อความสนุก (ร้อยละ 78.44) ค่าเฉลี่ยทักษะการรู้เท่าทันสื่อโดยรวมอยู่ในระดับดี (M=3.58, SD=0.77) ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในภาพรวมอยู่ในระดับต่ำ (M=1.94, SD=0.43) เพศและอายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติในระดับต่ำ (rpb=-.112, p=.032 และ rs=.139, p=.007 ตามลำดับ) ส่วนระดับการศึกษาและ ทักษะการรู้เท่าทันสื่อไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (rb = .064, p = .216 และ rs=-.003, p=.948 ตามลำดับ)  ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับชุมชนเขตหลักสี่ ทีมสหวิชาชีพและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการวางแผนติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะในด้านคุณภาพการนอนหลับและการเสพติดสื่อสังคมออนไลน์ รวมทั้งการส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันสื่อโดยเฉพาะ ด้านการสร้างสรรค์และการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในชุมชนแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร
เด็กเสี่ยงกจารมีความรู้แและทักษะหรอืการสือสารอย่างไรก็ตาม การขาดทักษะที่ดีในการใช้สือาจมีความเสี่ยงกจาการใช้สื่อสังคมออนไลน์โดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งเป็นกลุ่มที่ใชส้ื่อสังคมอนไลน์ค่อนข้างมาก วัตถ↩ุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาปัจัยส่วบุคล ทักษะารรู้เท่าทันสื่อและพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมอนไลน์ของวัยรุ่น และ 2) เพื่อศึษาความสัพนธ์ระหว่างปัจัยส่วนบุคคล (เพศ อายุ ระดับ การศึกษา) และทักษะการรู้เท่าทันสื่อกับพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในชุมชนแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร การออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นอายุ 13-19 สิงเทพมหานคร เติงเทพมหาน 371 คนที่ศึกษาในโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร เตหานสี่ คัดเลือกตัวอย่างด้วยการสุ่มแบหายขั้นตอน เอกบรวบรวมข้อมูช่วงเดอืนมกราคม ถึงเดอืนมีนาคม 2565โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคลและพฤติกรรมการใช้สือนสังคมอนไลน์แบบสอบถามทักษะการรู้เท่าทันสืและแบสอบถามพฤติกรรมเสี่ยงจาการใช้สื่อสังคมอนไลน์ ซึ่งมีค่าดัชนี ความสอดคล้องหะว่าขง้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ .98 และ 1.00 ตามลำดับ วิเคราะห์ความเชื่อมั่น ของเครื่องมือโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .88 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา Spearman correlation, Point biserial correlation และ Biserial correlation ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงมากที่สุด (ร้อยละ 49.87) อายุเฉลี่ย 15.27 ปี (sd=1.67) การศึกษาระดับมัธยมต้น (ร้อยละ 49.33) ส่วนใหญ่ใช้โทรศัพทม์ือถือ (ร้อยละ 84.90) เชวงเวลาที่ ใชส้ือสังคมออนศมากที่สุดคอ 16.01-24.00 น.(ร้อยละ 66.04) เหตุผลในการใช้สื่อสังคมอนไลน์ คือเพื่อความสนุก (ร้อยละ 78.44) ค่าเฉลี่ยทักษะการรู้เท่าทันสื่อโดยรวมอยู่ในระดับดี (m=3.58, sd=0.77) ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมเสี่ยงจาการใช้สือสังคมอนไลน์ในภาพรวมอยู่ในระดับต่ำ (m=1.94, sd=0.43) เพศและอายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจาการใช้ืส่อสังคมอนญ ทางสถติในระดับต่ำ (rpb=-.112, p=.032 และ rs=.139, p=.007 ตามลำดับ) ส่วนระดับการศึกษาและ ทักษการู้เท่าทันสือไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงจาการใช้สือไสังคมอนไลน์ (rb = .064, p = .216 และ rs=-.003, p=.948 ตามลำดับ) ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับชุมชนเขตหลักสี่ ทีมสหวิชาชีพและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการวางแผนติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์โดยเฉพาะในด้านคุณภาพการนอนหลัและการเสพาสือโดยเฉพาะ ด้านการส้างสรค์และการมี่วนร่วมแลกเปลี่ยนความคดิเห็นของวัยรุน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信