ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์ในจังหวัดนครราชสีมา

สุเนตร บุบผามาลา, แสงเดือน จินดาไพศาล, ปรียานุช จารึกกลาง, พัชฌาพร มนกลาง
{"title":"ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์ในจังหวัดนครราชสีมา","authors":"สุเนตร บุบผามาลา, แสงเดือน จินดาไพศาล, ปรียานุช จารึกกลาง, พัชฌาพร มนกลาง","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.267237","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ การตั้งครรภ์เป็นภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ หากสตรีตั้งครรภ์ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพจะสามารถลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในทุกระยะของการตั้งครรภ์และการคลอดได้ \nวัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยนำปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมกับการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์ และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์ \nการออกแบบการวิจัย การวิจัยแบบบรรยายเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงทำนาย โดยใช้กรอบแนวคิด PRECEDE-PROCEED Model \nวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุ 15-45 ปีที่มารับบริการฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล ในกำกับของรัฐบาลในเขตจังหวัดนครราชสีมาจำนวน 218 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถาม 5 ส่วน ได้แก่ 1) ปัจจัยนำด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล คือ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ครอบครัว คุณภาพการฝากครรภ์ 2) ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ 3) เจตคติต่อพฤติกรรม การดูแลตนเอง การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรคของการดูแลตนเอง ปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงบริการ สุขภาพในการฝากครรภ์ และปัจจัยเสริมด้านการสนับสนุนของครอบครัว เพื่อน และบุคลากรทางการแพทย์ 4) พฤติกรรมการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และ 5) ผลลัพธ์ของการตั้งครรภ์และการคลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ \nผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุเฉลี่ย 27.22 ปี (SD=6.48) มีค่าเฉลี่ยพฤติกรรม ด้านการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ในระดับมาก (M=3.45, SD=0.27) มีการฝากครรภ์ได้คุณภาพร้อยละ 74.77 น้ำหนักเพิ่มตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 37.61 คลอดครบกำหนดร้อยละ 97.20 และทารกแรกเกิดน้ำหนัก ตามเกณฑ์มาตฐานร้อยละ 96.33 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ปัจจัยนำด้านอายุ (r=.201, p=.001) เจตคติต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง การรับรู้ประโยชน์ของการดูแลตนเอง และการรับรู้อุปสรรคของการดูแลตนเอง (r=.426, .340, -.460, p<.001) และความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ (r=.163, p=.008) ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ การเข้าถึงบริการสุขภาพในการฝากครรภ์ (r=.411, p<.001) และปัจจัยเสริม ได้แก่ การสนับสนุนของครอบครัวเพื่อนฝูงและบุคลากรทางการแพทย์ (r=.418, p<.001) ผลการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณพบ 3 ปัจจัยที่สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเอง ขณะตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ได้ร้อยละ 28.10 (Adjusted R2= .271, F= 27.854, p<.001) ได้แก่ ปัจจัยนำด้านอายุ (β = .133, p=.024) การรับรู้อุปสรรคของการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ (β = -.319, p<.001) และปัจจัยเสริม ด้านการสนับสนุนของครอบครัว เพื่อน และบุคลากรทางการแพทย์ (β = .257, p<.001) \nข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยนี้สามารถนำปัจจัยสำคัญมาใช้ในการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ โดยการออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับอายุ การลดอุปสรรคที่ส่งผลต่อการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และ การส่งเสริมครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ และการส่งเสริมบทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการดูแล และให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างครอบคลุม และสะดวกต่อสตรีตั้งครรภ์","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.267237","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

บทนำ การตั้งครรภ์เป็นภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ หากสตรีตั้งครรภ์ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพจะสามารถลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในทุกระยะของการตั้งครรภ์และการคลอดได้  วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยนำปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมกับการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์ และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์  การออกแบบการวิจัย การวิจัยแบบบรรยายเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงทำนาย โดยใช้กรอบแนวคิด PRECEDE-PROCEED Model  วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุ 15-45 ปีที่มารับบริการฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล ในกำกับของรัฐบาลในเขตจังหวัดนครราชสีมาจำนวน 218 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถาม 5 ส่วน ได้แก่ 1) ปัจจัยนำด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล คือ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ครอบครัว คุณภาพการฝากครรภ์ 2) ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ 3) เจตคติต่อพฤติกรรม การดูแลตนเอง การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรคของการดูแลตนเอง ปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงบริการ สุขภาพในการฝากครรภ์ และปัจจัยเสริมด้านการสนับสนุนของครอบครัว เพื่อน และบุคลากรทางการแพทย์ 4) พฤติกรรมการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และ 5) ผลลัพธ์ของการตั้งครรภ์และการคลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ  ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุเฉลี่ย 27.22 ปี (SD=6.48) มีค่าเฉลี่ยพฤติกรรม ด้านการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ในระดับมาก (M=3.45, SD=0.27) มีการฝากครรภ์ได้คุณภาพร้อยละ 74.77 น้ำหนักเพิ่มตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 37.61 คลอดครบกำหนดร้อยละ 97.20 และทารกแรกเกิดน้ำหนัก ตามเกณฑ์มาตฐานร้อยละ 96.33 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ปัจจัยนำด้านอายุ (r=.201, p=.001) เจตคติต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง การรับรู้ประโยชน์ของการดูแลตนเอง และการรับรู้อุปสรรคของการดูแลตนเอง (r=.426, .340, -.460, p<.001) และความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ (r=.163, p=.008) ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ การเข้าถึงบริการสุขภาพในการฝากครรภ์ (r=.411, p<.001) และปัจจัยเสริม ได้แก่ การสนับสนุนของครอบครัวเพื่อนฝูงและบุคลากรทางการแพทย์ (r=.418, p<.001) ผลการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณพบ 3 ปัจจัยที่สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเอง ขณะตั้งครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ได้ร้อยละ 28.10 (Adjusted R2= .271, F= 27.854, p<.001) ได้แก่ ปัจจัยนำด้านอายุ (β = .133, p=.024) การรับรู้อุปสรรคของการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ (β = -.319, p<.001) และปัจจัยเสริม ด้านการสนับสนุนของครอบครัว เพื่อน และบุคลากรทางการแพทย์ (β = .257, p<.001)  ข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยนี้สามารถนำปัจจัยสำคัญมาใช้ในการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ โดยการออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับอายุ การลดอุปสรรคที่ส่งผลต่อการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และ การส่งเสริมครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ และการส่งเสริมบทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการดูแล และให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างครอบคลุม และสะดวกต่อสตรีตั้งครรภ์
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์ในจังหวัดนครราชสีมา
ารตั้งครภ์เป็นภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจหากสตรีตั้งครรภ์ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพจะสามารถลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในทุกระยะของการตั้งครรภ์และการคลอดได้ วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของสตรีตั้งครรภ์2) เพือ่ศึษกาความสัมพันธ์ ระห่างปัจัยนปัจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมกับารดูแลตนเองของสตรีตั้งครภ์ และ 3)เพือศึกษาปัจัยทำนายพฤติกรรมารดอธเชิงทำนาย โดยใช้กรอศแบบริยทำนายแบบรรยายเพือวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงทำนาย โดยใช้กรอบแนวิคดe precede-PROCEED Model วิธีดำเนินากรวิจัย กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีตั้งครภ์ที่มีาอยุ 15-45 ปีที่มารับบริการฝากครภ์ที่โรงพยาบาล ในกำกับของรัฐบาลในเขตจังหวัดนคราชสีมาจำนวน 218 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่าโงดยการสุ่มแบหลายขั้นตอน เครื่องมือวิจัยประกอบดว้ยแบสอบถาม 5 ส่วน ได้แก่ 1)ปัจัยนำด้านคุณลักษณะส่วนบุคล คือ ายุ ระดับการศึกษา รายได้ครอบครัว คุณภาพการฝากครภ์ 2)3) เจตคติต่อพฤติกรม การดูแลตนเอง การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรคขงการดูแลตนเองปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงบริการ สุขภาพในการฝากครรภ์ และปัจจัยเสริมด้านการสนับสนุนของครอบครัว เพื่อน และบุคลากรทางการแพทย์ 4) พฤติกรรมการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และ 5) ผลลัพธ์ของการตั้งครรภ์และการคลอดวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สสัมพันธ์ของเพียร์สันการทดสอบไคสแแควร์ และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครภ์ที่มีอายุเลี่ย 27.22 ปี (SD=6.48) มีค่าเฉลี่ยพฤติกรรม ด้านการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ในระดับมาก (M=3.45, SD=0.27) มีการฝากครรภ์ได้คุณภาพร้อยละ 74.77 น้ำหนักเพิ่มตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 37.61 คลอดครบกำหนดร้อยละ 97.20 และทารกแรกเกิน้ำหนัก ตามเกณฑ์มาตฐานร้อยละ 96.33 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ปัจัยนำด้านอายุ (r=.201, p=.001) เจตคติต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง การรับรู้ประโยชน์ของการดูแลตนเอง และการรับรู้อุปสรคของการดูแลตนเอง (r=.426, .340, -.460, p<.001) และความรู้เกี่ยวกับการตั้งครภ์ (r=.163, p=.008) ปัจัยเออือ ได้แก่ การเข้าถึงบริการสุขภาพในการฝากครภ์ (r=.411, p<.001) และปัจจัยเสริม ได้แก่ การสันบสุนของครอบครัวเพื่อนจัยเสริม (r=.418, p<.001) ผลการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณพบ 3 ปัจัยที่สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเงอ ขณะตั้งครภ์ของสตรีัต้งครภ์ไดร้ยอละ 28.10 (调整后 R2= .271,F= 27.854,p<.001) เด้แก่ ปัจัยนำด้านอายุ (β = .133, p=.024) กรรับรู้อุปสรคของการดแลตนเองขณะตั้งครภ์ (β = -.319, p<.001) และปัจัยเสริม ด้านการสนับสุนของครอบครัว เพื่อน และบุคลากรทางการแพทย์ (β = .257, p<.001) ข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยนี้สามารถนำปัจจัยสำคัญมาใช้ในการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ โดยการออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับอายุ การลดอุปสรรคที่ส่งผลต่อการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และ การส่งเสริมครอบครัวให้มี่สวนร่วมในการูแลสุขภาพสตรีตั้งครภ์ และการส่งเสริมบทบาทของพยาบาลผดุงครภ์ในการดูแล และให้ข้อมูลที่เ็นประโยชน์อย่างครอบคลุม และสะดวกต่อสตรีตังครภ์
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信