ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่หน่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร

ศิรินาถ หลวงนรินทร์, เสาวรส คงชีพ, ฉันท์ชนก วันดี
{"title":"ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่หน่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร","authors":"ศิรินาถ หลวงนรินทร์, เสาวรส คงชีพ, ฉันท์ชนก วันดี","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.266648","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ผ่านมา ทำให้เกิดข้อจำกัดในการให้บริการทางสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาลเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในการให้บริการผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ต้องรับผู้ป่วยเพื่อการรักษาที่เร่งด่วนและเป็นด่านหน้าของโรงพยาบาลในการให้บริการ จึงส่งผลให้เกิดความเครียดในงานได้ง่าย นอกจากนี้ปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องยังอาจร่วมกันส่งผลกระทบต่อระดับความเครียดที่เพิ่มมากขึ้น มีผลต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานตลอดจนคุณภาพการให้บริการผู้ป่วย \nวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาระดับความเครียดและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากร ทางการพยาบาลที่ห้องฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 \nการออกแบบวิจัย การวิจัยแบบพรรณนาเชิงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ \nวิธีการดำเนินการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ศึกษาในประชากรพยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาลที่ปฏิบัติงาน ที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 118 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลในระหว่าง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 โดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัยจากการทบทวนวรรณกรรมและ 3) แบบประเมินความเครียดของกรมสุขภาพจิต ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1 และตรวจสอบความเชื่อมั่นในผู้ที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค .93 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสหสัมพันธ์สเปียร์แมน \nผลการวิจัย บุคลากรทางการพยาบาลที่ห้องฉุกเฉินจำนวน 118 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 90.7) อายุเฉลี่ย 30.34 ปี (SD = 7.03) ตำแหน่งงานพยาบาล (ร้อยละ 58.5) สถานภาพโสด (ร้อยละ 79.7) ค่ามัธยฐาน ของประสบการณ์การทำงานที่แผนกฉุกเฉิน 5.5 ปี ค่ามัธยฐานของรายได้ต่อเดือน 30,000 บาท ประมาณครึ่งหนึ่ง มีรายได้ไม่เพียงพอ (ร้อยละ 50.8) มีชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์อยู่ในช่วง 41-49 ชั่วโมง (ร้อยละ 71.2) และ ทุกคนได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 แล้วอย่างน้อย 1 เข็ม ค่าเฉลี่ยความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่ห้องฉุกเฉินอยู่ในระดับความเครียดรุนแรง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียด ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง สถานการณ์การทำงานและระบบงาน (r=.533, p<.001) ความกลัวการติดเชื้อหรือการแพร่กระจายเชื้อ (r=.408, p<.001) ปัญหาเศรษฐกิจจากรายได้ที่ลดลง (r=.431, p<.001) การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในที่ทำงาน (r=.401, p<.001) ความบีบคั้นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 (r=.595, p<.001) การเปลี่ยนแปลงชีวิตวิถีใหม่ (r=.527, p<.001) และการสื่อสารและการประสานงาน (r=.587, p<.001) \nข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลให้กับผู้บริหารในการพัฒนาแนวทางในการบริหารจัดการความเครียดที่เกิดขึ้นเพื่อช่วยบุคลากรทางการพยาบาลในห้องฉุกเฉินสามารถปฏิบัติงานท่ามกลางสถานการณ์การระบาดของโควิด-19","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.266648","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

บทนำ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ผ่านมา ทำให้เกิดข้อจำกัดในการให้บริการทางสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาลเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในการให้บริการผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ต้องรับผู้ป่วยเพื่อการรักษาที่เร่งด่วนและเป็นด่านหน้าของโรงพยาบาลในการให้บริการ จึงส่งผลให้เกิดความเครียดในงานได้ง่าย นอกจากนี้ปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องยังอาจร่วมกันส่งผลกระทบต่อระดับความเครียดที่เพิ่มมากขึ้น มีผลต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานตลอดจนคุณภาพการให้บริการผู้ป่วย  วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาระดับความเครียดและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากร ทางการพยาบาลที่ห้องฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19  การออกแบบวิจัย การวิจัยแบบพรรณนาเชิงวิเคราะห์ความสัมพันธ์  วิธีการดำเนินการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ศึกษาในประชากรพยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาลที่ปฏิบัติงาน ที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 118 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลในระหว่าง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 โดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัยจากการทบทวนวรรณกรรมและ 3) แบบประเมินความเครียดของกรมสุขภาพจิต ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1 และตรวจสอบความเชื่อมั่นในผู้ที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค .93 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสหสัมพันธ์สเปียร์แมน  ผลการวิจัย บุคลากรทางการพยาบาลที่ห้องฉุกเฉินจำนวน 118 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 90.7) อายุเฉลี่ย 30.34 ปี (SD = 7.03) ตำแหน่งงานพยาบาล (ร้อยละ 58.5) สถานภาพโสด (ร้อยละ 79.7) ค่ามัธยฐาน ของประสบการณ์การทำงานที่แผนกฉุกเฉิน 5.5 ปี ค่ามัธยฐานของรายได้ต่อเดือน 30,000 บาท ประมาณครึ่งหนึ่ง มีรายได้ไม่เพียงพอ (ร้อยละ 50.8) มีชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์อยู่ในช่วง 41-49 ชั่วโมง (ร้อยละ 71.2) และ ทุกคนได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 แล้วอย่างน้อย 1 เข็ม ค่าเฉลี่ยความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่ห้องฉุกเฉินอยู่ในระดับความเครียดรุนแรง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียด ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง สถานการณ์การทำงานและระบบงาน (r=.533, p<.001) ความกลัวการติดเชื้อหรือการแพร่กระจายเชื้อ (r=.408, p<.001) ปัญหาเศรษฐกิจจากรายได้ที่ลดลง (r=.431, p<.001) การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในที่ทำงาน (r=.401, p<.001) ความบีบคั้นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 (r=.595, p<.001) การเปลี่ยนแปลงชีวิตวิถีใหม่ (r=.527, p<.001) และการสื่อสารและการประสานงาน (r=.587, p<.001)  ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลให้กับผู้บริหารในการพัฒนาแนวทางในการบริหารจัดการความเครียดที่เกิดขึ้นเพื่อช่วยบุคลากรทางการพยาบาลในห้องฉุกเฉินสามารถปฏิบัติงานท่ามกลางสถานการณ์การระบาดของโควิด-19
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่หน่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เที่ผ่านมา ทำใหเกิดข้อจำกัดในการให้บริการทางสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาลเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในการให้บริการผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินๆ ที่เกี่ยวข้องยังอาจร่วมมันกส่งผลกระทบต่รอะดับความเครียดที่เพิ่มากขข้น มีผลต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานตลอดจนคุณภาพการใหบ้ริการผู้่ปวย วัตถุประสงค์การวจัยเพือศึกษาระดับความเครียดแลปะจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดอของบรุลากรทางการพาระบารทีห้องฉ9↩กุเฉ9↩ินในสถานการณ์การแพร่ระบาดงควิด-19 การอกแบบวิจัย การวิจัยแบพรรณนาเชิงวิเคระาห์ความสัมพันธ์ วิธีการดำเนินการวิจัย การศึกษาครั้งีนที่ปฏิบัติงานศ.ศ.2565 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 โดยากรตอบแบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วย 1) แบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2)แบสอบถามปัจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียทดี่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัยจาการทบทนวรรณกรรมและ 3) แบปบระเมินความเครียดขอกงรมสุขภพจิตผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1 และตรวจสอบความเชื่อมั่นในผู้ที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค .93 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสหสัมพันธ์เสปียร์แมน ผลการวิจัย บุคลากรทางการพยาบาลที่ห้องฉุกเฉินจำนวน 118 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 90.7) อายุเฉลี่ย 30.34 ปี (sd = 7.สถานภาพโสด (ร้อยละ 79.7) ค่ามัธยฐาน ของประสบการณ์การทำงานที่แผนกฉุกเฉิน 5.5 ปี ค่ามัธยฐานของรายได้ต่อเดือน 30,000 บาท ประมาณครึ่งหนึ่ง มีรายได้ม่เพียงพอ (รอ้ยละ 50.8) มีชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์อยู่ในช่วง 41-49 ชั่วโมง (ร้อยละ 71.2) และทุกคนไดรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 แล้วอย่างน้อย 1 เข็ม ค่าเฉลี่ยความเครียดขงบุคลากรทางการพยาบารที่ห้องฉุกเฉินอยู่ในระดับความเครียดรุนแรงปัจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียด ได้แก่ การเปลี่ยนแปลง สถานการณ์การทำงานและระบบงาน (r=.533, p<.001) ความกลัวกรติดเชือกรอกรแพร่กระจายเชือ (r=.408, p<.001) ปัญหาเศรษฐกจิจากรายได้ที่ลดง (r=.431, p<.001) การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในที่ทำงาน (r=.401, p<.001)ความบีบคั้นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 (r=.595, p<.001) การเปลี่ยนแปลงชีวิตวิถีให่ม (r=.527, p<.001) และการสื่อสารและการประสาน (r=.587, p<.001) ข้อเสนอแนะผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลให้กับผู้บริหารในการพัฒนาแนวทางในการบริหารจัดการความเครียดที่เกิดขึ้นเพื่อช่วยบุคลากรทางการพยาบาลในห้องฉุกเฉินสามารถปฏิบัติงานท่ามกลางสถานการณ์การระบาดของโควิด-19
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信