ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี
จิตรานันต์ กงวงษ์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, กอบกุล เมืองสมบูรณ์
{"title":"ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี","authors":"จิตรานันต์ กงวงษ์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, กอบกุล เมืองสมบูรณ์","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.266368","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ ภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี เป็นภาวะไม่พึงประสงค์ที่สำคัญที่พบได้ในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี การศึกษาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะนี้จะช่วยในการประเมิน ภาวะเสี่ยง เฝ้าระวังการเกิดหรือลดความรุนแรงของการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีได้ \nวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อ 1) ศึกษาอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี (Contrast-induced acute kidney injury: CI-AKI) ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับ การฉีดสารทึบรังสี (Contrast-enhanced computed tomography: CECT) 5 ปีย้อนหลัง 2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของระดับความดันโลหิตซิสโตลิก ก่อนตรวจ CECT โรคเบาหวาน ค่าประมาณอัตราการกรองของไต (estimated Glomerular Filtration Rate, eGFR) ก่อนได้รับการตรวจ CECT และการได้รับสารทึบรังสีซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง ต่อการเกิดภาวะ CI-AKI ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ CECT และ 3) วิเคราะห์อำนาจการทำนายของระดับ ความดันโลหิตซิสโตลิกก่อนตรวจ CECT โรคเบาหวาน ค่า eGFR ก่อนได้รับการตรวจ CECT และการได้รับ สารทึบรังสีซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง ต่อการเกิดภาวะ CI-AKI ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ CECT \nการออกแบบการวิจัย การศึกษาย้อนหลังแบบศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย ใช้กรอบแนวคิดการปรับตัวของรอย (Roy’s adaptation model) \nวิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแฟ้มประวัติของผู้ป่วยระหว่างปี พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563 ที่มารักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิชั้นสูงแห่งหนึ่ง จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 260 ราย เลือกตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้เกณฑ์คัดเข้า คือ มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ได้รับตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และได้รับการฉีดสารทึบรังสีเข้าสู่ร่างกายทางหลอดเลือดดำ และใช้เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี ตามเกณฑ์ Kidney Disease Improving Global Outcomes (KDIGO 2012) วิเคราะห์อำนาจการทำนายปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ถดถอยลอจิสติก กำหนดระดับนัยสำคัญที่ .05 \nผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายและหญิงจำนวนใกล้เคียงกัน เป็นวัยสูงอายุร้อยละ 60.8 มีอายุเฉลี่ย 62.5 ปี (SD = 17.7) พบอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากการได้รับสารทึบรังสีร้อยละ 38.8 และพบว่า ปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี ได้แก่ ระดับความดันโลหิต ซิสโตลิก ก่อนตรวจ CECT (OR 21.953, 95% CI [2.635– 182.87], p = .004) ค่า eGFR ก่อนได้รับการตรวจ CECT น้อยกว่า 60 mL/min/1.73 m2 (OR 4.887, 95% CI [2.603– 9.176], p < .001) การได้รับสารทึบรังสี ซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง (OR 2.351, 95% CI [1.047– 5.278], p = .038) สามารถร่วมทำนายการเกิดภาวะ CI-AKI ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ CECT ด้วยความแปรปรวน 27.3% (Nagelkerke R2= .273, p < .05) \nข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาแสดงถึงอัตราการเกิดการบาดเจ็บของไตเนื่องจากการได้รับสารทึบรังสีมีอัตราสูงขึ้น การคัดกรองความเสี่ยงของผู้ป่วยไม่เพียงพอ ผู้ป่วยควรได้รับการป้องกันภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในหลายปัจจัยเสี่ยง บุคลากรทางสุขภาพควรประเมินและเฝ้าระวังการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตซิสโตลิกและค่าประมาณอัตราการกรองของไตต่ำ และติดตามประเมินหลังได้รับสารทึบรังสีซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.266368","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Abstract
บทนำ ภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี เป็นภาวะไม่พึงประสงค์ที่สำคัญที่พบได้ในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี การศึกษาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะนี้จะช่วยในการประเมิน ภาวะเสี่ยง เฝ้าระวังการเกิดหรือลดความรุนแรงของการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีได้
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อ 1) ศึกษาอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี (Contrast-induced acute kidney injury: CI-AKI) ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับ การฉีดสารทึบรังสี (Contrast-enhanced computed tomography: CECT) 5 ปีย้อนหลัง 2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของระดับความดันโลหิตซิสโตลิก ก่อนตรวจ CECT โรคเบาหวาน ค่าประมาณอัตราการกรองของไต (estimated Glomerular Filtration Rate, eGFR) ก่อนได้รับการตรวจ CECT และการได้รับสารทึบรังสีซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง ต่อการเกิดภาวะ CI-AKI ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ CECT และ 3) วิเคราะห์อำนาจการทำนายของระดับ ความดันโลหิตซิสโตลิกก่อนตรวจ CECT โรคเบาหวาน ค่า eGFR ก่อนได้รับการตรวจ CECT และการได้รับ สารทึบรังสีซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง ต่อการเกิดภาวะ CI-AKI ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ CECT
การออกแบบการวิจัย การศึกษาย้อนหลังแบบศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย ใช้กรอบแนวคิดการปรับตัวของรอย (Roy’s adaptation model)
วิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแฟ้มประวัติของผู้ป่วยระหว่างปี พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563 ที่มารักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิชั้นสูงแห่งหนึ่ง จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 260 ราย เลือกตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้เกณฑ์คัดเข้า คือ มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ได้รับตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และได้รับการฉีดสารทึบรังสีเข้าสู่ร่างกายทางหลอดเลือดดำ และใช้เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี ตามเกณฑ์ Kidney Disease Improving Global Outcomes (KDIGO 2012) วิเคราะห์อำนาจการทำนายปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ถดถอยลอจิสติก กำหนดระดับนัยสำคัญที่ .05
ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายและหญิงจำนวนใกล้เคียงกัน เป็นวัยสูงอายุร้อยละ 60.8 มีอายุเฉลี่ย 62.5 ปี (SD = 17.7) พบอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากการได้รับสารทึบรังสีร้อยละ 38.8 และพบว่า ปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี ได้แก่ ระดับความดันโลหิต ซิสโตลิก ก่อนตรวจ CECT (OR 21.953, 95% CI [2.635– 182.87], p = .004) ค่า eGFR ก่อนได้รับการตรวจ CECT น้อยกว่า 60 mL/min/1.73 m2 (OR 4.887, 95% CI [2.603– 9.176], p < .001) การได้รับสารทึบรังสี ซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง (OR 2.351, 95% CI [1.047– 5.278], p = .038) สามารถร่วมทำนายการเกิดภาวะ CI-AKI ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ CECT ด้วยความแปรปรวน 27.3% (Nagelkerke R2= .273, p < .05)
ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาแสดงถึงอัตราการเกิดการบาดเจ็บของไตเนื่องจากการได้รับสารทึบรังสีมีอัตราสูงขึ้น การคัดกรองความเสี่ยงของผู้ป่วยไม่เพียงพอ ผู้ป่วยควรได้รับการป้องกันภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในหลายปัจจัยเสี่ยง บุคลากรทางสุขภาพควรประเมินและเฝ้าระวังการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตซิสโตลิกและค่าประมาณอัตราการกรองของไตต่ำ และติดตามประเมินหลังได้รับสารทึบรังสีซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง
ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี
มติลาคัฉียมติลาคัฉียมติลาคัฉียมติลาคัฉียมติลาคัฉียมติลาคัผู้ป่วยที่พบด้ในการศึกษาปัจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะนี้จะช่วยในการประเมินภาวะเสี่ยง เฝ้าระวังการเกิดหรือลดความรุนแรงของการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อ 1) ศึกษาอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี (Contrast-induced acute kidney injury:ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับ การฉีดสารทึบรังสี (Contrast-enhanced computed tomography:2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของระดับความดันโลหิตซิสมตลิก ก่อนตรวจ CECT โรคเบาหวาน ค่าประมาณัอตราการกรองของไต (估计肾小球滤过率、eGFR) กั-72 ชั่วโมง ตั่กรเกิดภาวจ CECT และการได้รับสารทึบรังีสซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง ตั่กรเกิดภาวะ CI-AKI ในผู้่ปวยที่เข้ารับการตรวจ CECT และ 3) วิเคราะห์อำนาจการทำนายของระดับ ความดันโลหิตซิสโลติก่อนตรวจ CECT โรคเบาหวาน ค่า eGFR ก่อนได้รับการตรวจ CECT และการได้รับ สารทบรังสีซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง ต่อการเกิดภาวะ ci-Aki ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ cect การอกแบการวิจัย การศึกษาย้อนหลังแบบศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนายใช้กรอบแนวคิดารปรับตัวของรอย (Roy's adaptation model) วิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยเ็กบรวบรวมข้อมูลจากแฟ้มประัวติของผู้ป่วยระหว่างปี พ.ศ.2559 ถึง พ.ศ.2563 เที่มารักษาในโรงพยาบาลติยภูมิชันสูงแห่งหนึ่ง จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 260 ราย เลือกตัวอย่างแบเจาะจง โดยใช้เกณฑ์คัดเข้า คือมีอายุตั้งแต่ 18 ปีข้ึนไป ด้รับรตวจวินิจฉัยด้วยเครอืองเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และได้รับการฉีดสารทึบรังสีเข้าสู่รางกายทางหอดเลอดำ肾脏疾病改善全球结果(KDIGO 2012)。วิเคราะห์อำนาจากรทำนายปัจัยที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ถดถอยลอจิสติก กำหนดระดับนัยสำคัญที่ .05 ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายและหญิงจำนวนใกล้เคียงกัน เป็นวัยสูงอายุร้อยละ 60.8 มีอายุเฉลี่ย 62.5 ปี (SD = 17.7) พบอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากการได้รับสารทึบรังสีร้อยละ 38.8 และพบว่า ปัจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะไบตาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสี ได้แก่ ระดับความดันโลหิติ ซิสตโลิก ก่อนตรวจ cect (or 21.953, 95% CI [2.635- 182.87], p = .004) ค่า eGFR ก่อนได้รับการตรวจ CECT น้อยกว่า 60 mL/min/1.73 m2 (OR 4.887, 95% CI [2.603- 9.176], p < .001) การรับสารทึบรังสี ซ้ำภายใน 2472 ชั่วโมง (OR 2.351, 95% CI [1.047- 5.278], p = .038) สาามรถร่วมทำนายการเกิดภาวะ CI-AKI ในผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ CECT ด้วยความแปรปรวน 27.3% (Nagelkerke R2= .273, p < .05)ข้อเสนอแนะ ผลากรศึกษาแสดงถึงัตรากรเกิดการบาเจ็บขงงไเตเนืองจาการรับสารทึบรังสีมีอตัราสูงข้นเสี่ยงของผู้ป่วยไม่เพียงพอ ผู้ป่วยควรได้รับารปองกันภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในหลายปัจัยเสี่ยงบุคลากรทางสุขภาพควรประเมินและเฝ้าระวังการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตซิสโตลิกและค่าประมาณอัตราการกรองของไตต่ำ และติดตามประเมินหลังได้รับสารทึบรังสีซ้ำภายใน 24-72 ชั่วโมง
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。