การจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับอุปสงค์ตลาด กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี

สุปรีชญา บุญมาก, พงศ์ชยนต์ ศรีสุวรรณ, ณัฐวรรณ สมรรคจันทร์
{"title":"การจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับอุปสงค์ตลาด กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี","authors":"สุปรีชญา บุญมาก, พงศ์ชยนต์ ศรีสุวรรณ, ณัฐวรรณ สมรรคจันทร์","doi":"10.60101/mmr.2023.267866","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าการวางแผนการเก็บเกี่ยวในปัจจุบันเกษตรกรใช้ประสบการณ์การทำการเกษตรที่ผ่านมา จึงทำให้การวางแผนการเก็บเกี่ยวไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยมีวัตถุประสงค์ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายรวมในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่ต่ำที่สุด โดยค่าใช้จ่ายที่นำมาพิจารณามี 3 ส่วน คือ 1) ค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร 2) ค่าใช้จ่ายในการดูแลระหว่างที่สินค้าเกษตรค้างอยู่ในแปลงปลูก และ 3) ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเกษตรจากสมาชิกเกษตรกรในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และหาผลเฉลี่ยโดยใช้เครื่องมือโซลเวอร์ (Solver) ซึ่งเป็นฟังก์ชัน Add-ins ในโปรแกรมไมโครซอฟต์ เอ็กเซล (Microsoft Excel) ผลการวิจัยพบว่า หลังจากประยุกต์ใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้นในการนำมาจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมจากเดิม 226,626 บาท ลดลงเหลือ 188,025 บาท หรือ ค่าใช้จ่ายลดลง 38,601 บาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายลดลงร้อยละ 17.03 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านการวางแผนการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรของวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี และสร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น เพื่อใช้วางแผนการจัดการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับอุปสงค์ตลาด จากนั้นทำการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการจัดการการเก็บเกี่ยวระหว่างรูปแบบปัจจุบันและรูปแบบการใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยใช้ระเบียบวิจัยแบบผสมผสาน ทำการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเจาะจง โดยสัมภาษณ์ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 1 ราย และสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจำนวน 4 ราย","PeriodicalId":506335,"journal":{"name":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","volume":"15 1-2","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-12-13","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60101/mmr.2023.267866","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าการวางแผนการเก็บเกี่ยวในปัจจุบันเกษตรกรใช้ประสบการณ์การทำการเกษตรที่ผ่านมา จึงทำให้การวางแผนการเก็บเกี่ยวไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยมีวัตถุประสงค์ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายรวมในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่ต่ำที่สุด โดยค่าใช้จ่ายที่นำมาพิจารณามี 3 ส่วน คือ 1) ค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร 2) ค่าใช้จ่ายในการดูแลระหว่างที่สินค้าเกษตรค้างอยู่ในแปลงปลูก และ 3) ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเกษตรจากสมาชิกเกษตรกรในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และหาผลเฉลี่ยโดยใช้เครื่องมือโซลเวอร์ (Solver) ซึ่งเป็นฟังก์ชัน Add-ins ในโปรแกรมไมโครซอฟต์ เอ็กเซล (Microsoft Excel) ผลการวิจัยพบว่า หลังจากประยุกต์ใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้นในการนำมาจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมจากเดิม 226,626 บาท ลดลงเหลือ 188,025 บาท หรือ ค่าใช้จ่ายลดลง 38,601 บาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายลดลงร้อยละ 17.03 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านการวางแผนการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรของวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี และสร้างแบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น เพื่อใช้วางแผนการจัดการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับอุปสงค์ตลาด จากนั้นทำการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการจัดการการเก็บเกี่ยวระหว่างรูปแบบปัจจุบันและรูปแบบการใช้แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยใช้ระเบียบวิจัยแบบผสมผสาน ทำการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเจาะจง โดยสัมภาษณ์ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 1 ราย และสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจำนวน 4 ราย
การจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับอุปสงค์ตลาด กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ จังหวัดเพชรบุรี
จาการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าการวางแผนาการเก็บเกี่ยวในปัจุบันเกษตรกรใช้ปะสบการณ์การทำการเษตรที่ผ่านมา จึงทำให้ากรวางแผนการเก็บเกี่ยวไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรผู้วจัยจึงได้สร้างแบจำลองกำหนดการเชิงเส้นโดยมีวัตถุประสงค์ทำให้เกิดค่าใชจ้่ายรวมในการเก็บเกียวสินค้าเกตษรที่ำที่สุด1) ค่าใช้จ่ายที่นำมาพิจารณามี 3 ส่วน คือ 1) ค่าใช้จ่ายในการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร 2) ค่าใช้จ่ายในการดูแลระหว่างที่สินค้าเกษตรค้างอยู่ในแปลงปลูก3) เลาใช้จ่ายในการซ้ือสินค้าเกษตรจากสมาชิกเกษตรกรในกลุ่มวิสาหกจิชุมชน และหาผลเฉลี่ยโดยใช้เครื่องมือโซลเวอร์ (Solver) ซึ่งเป็ฟังก์ชัน Add-(Microsoft Excel) เE1C↩ลการวิจัยพบว่า เE43↩ช้แบจำลองกำหนดากรเชิงเส้นใการนำมาจัดการการเก็บเกี่ยวสินค้าเกษตร ทให้ค่าใชจ้่ายรวมจากเดิม 226、626 สิงเด็ือ 188,025 สิงเด็ือ ค่าใช้จ่ายลดง 38,601 สิงท คิงเป็นค่าใช้จ่ายลง 17.03 งานวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ศึกษาข้มูลพืนฐานและข้อมูลด้านการวางแผนการเอกอบเกี่ยวสินค้าเกษตรของวิสาหากจัชุมชนเกษตรอินทรีย์จังหวัดเพชรบุรีและสร้างแบจำลองกำหนดการเชิงเส้น เพือใช้วางแผนการจัดากรเกบ็เกี่ยวสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับอุปสงค์ตลาดจากนันทำการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการจัดการการเก็บเกี่ยวระหว่างรูปแบบปจุบันและรูปแบบการใช้แบจำลองกำหนดการเชิงเส้น โดยใช้ระเบียบวจัยแบผสมผสานทำการสัมภาษณ์แบมีโครงสร้าง เลือกลุ่มตัวยอ่างด้วยวิธีเจาะจง โดยสัมภาษณ์ประธานกลุ่มวิสาหากจิชุมชน จำนวน 1 ราย และสมาชิกลุ่มวิสาหกิชุมชนจนำวน 4 ราย
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信