{"title":"องค์ประกอบที่มีผลต่อความต้องการส่งเสริมการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออก ของเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดในเขตภาคเหนือของประเทศไทย","authors":"เทอดพันธ์ ธรรมรัตนพงษ์, เฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, จินดา ขลิบทอง","doi":"10.55766/wylp7494","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภาคเหนือของประเทศไทยมีการส่งออกสับปะรดผลสดไปจำหน่ายยังต่างประเทศ แต่กฎระเบียบข้อบังคับการนำเข้าสินค้าทำให้เกษตรกรไม่ต้องการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออก งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบการส่งเสริมการเกษตรที่เกษตรกรต้องการได้รับสำหรับการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออก โดยการศึกษาหาตัวแปรที่สำคัญต่อการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออก ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interviews) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ได้ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 ตัวแปร และนำมาใช้สำรวจความต้องการได้รับการส่งเสริมการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออกกับเกษตรกร เมื่อนำตัวแปร ทั้ง 30 ตัวแปร มาหาความสัมพันธ์กันเพื่อลดจำนวนตัวแปรลง โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) และสร้างเป็นองค์ประกอบใหม่ พบว่า ได้องค์ประกอบ จำนวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) การส่งเสริมการผลิตสับปะรดส่งออกตามแนวคิดชีวิตวิถีใหม่ 2) การส่งเสริมการค้าสับปะรดระหว่างประเทศ 3) การส่งเสริมการรวมกลุ่มและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 4) การส่งเสริมการศึกษาวิจัยนวัตกรรมการผลิตสับปะรด และ 5) การส่งเสริมด้านธรรมาภิบาลธุรกิจสับปะรด ทั้งนี้องค์ประกอบความต้องการส่งเสริมการเกษตรทั้ง 5 ด้าน มีผลช่วยให้เกษตรกรต้องการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออก ได้ถึงร้อยละ 65.30 โดยองค์ประกอบด้านการส่งเสริมการค้าสับปะรดระหว่างประเทศ มีผลต่อความต้องการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออกของเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรด มากที่สุด (Beta = 0.133) ทั้งนี้สามารถนำมาเขียนเป็นสมการเพื่อใช้ในการพยากรณ์ คือ = 4.355 + 0.353X2 + 0.393X1 + 0.270X4 + 0.319X3 + 0.268X5 จากผลงานวิจัยเป็นแนวทางให้ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง นำไปใช้ส่งเสริมให้เกษตรกร เกิดความต้องการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออกที่มีคุณภาพได้มาตรฐานและตรงตามความต้องการของผู้บริโภค","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"77 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-03-28","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/wylp7494","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
促进菠萝生产的要素是泰国北部菠萝种植者的出口。
泰国北部有新鲜菠萝的出口,在国外也有新鲜菠萝的出口,但是进口法规禁止农民生产菠萝来出口。通过对菠萝生产出口关键变量的深入研究,我们得到了30个相关变量,并进行了需求调查,促进了菠萝生产与农民的出口。当取这30个变量时,找到它们之间的关系来减少它们的数量。2)促进菠萝国际贸易3)促进菠萝生产创新研究4)促进菠萝生产创新5)促进菠萝生产治理5)促进菠萝生产,促进农民对菠萝生产的需求占总出口的5%。65.30万?国际菠萝贸易促进因素对菠萝种植者出口菠萝的需求影响最大。根据研究结果,该方程可以写成:4.355 + 0.353X2 + 0.393X1 + 0.270x3 + 0.319X3 + 0.26x5。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。