การเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาด้วยการฝึกเมตตาภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา

ปริยา ศุภวงศ์, ธนภณ สมหวัง
{"title":"การเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาด้วยการฝึกเมตตาภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา","authors":"ปริยา ศุภวงศ์, ธนภณ สมหวัง","doi":"10.60027/iarj.2024.277226","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: เมื่อนักศึกษากำลังเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ วัยที่เต็มไปด้วยความรับผิดชอบและความคาดหวัง การเติบโตนี้จึงมาพร้อมกับจำนวนปัญหาที่มากขึ้นและขนาดของอุปสรรคที่ใหญ่ขึ้น นักศึกษาหลายคนไม่สามารถปรับตัวได้ หรืออาจปรับตัวได้ช้าจนก่อให้เกิดความเครียดเรื้อรังและกลายเป็นภาวะซึมเศร้าในที่สุด บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอวิธีการเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัว (Resilience) ด้วยการฝึกเมตตาภาวนาตามหลักพุทธศาสนา เพื่อป้องกันภาวะอาการซึมเศร้าที่เมื่อนานวันไปจะกลายเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งพบเพิ่มมากขึ้นทุกปีจากใบลาป่วยของนักศึกษาที่วินิจฉัยรับรองโดยแพทย์เฉพาะทาง  \nระเบียบวิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง จากนั้นทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามประเด็นวัตถุประสงค์การศึกษาและใช้วิธีการนำเสนอเชิงพรรณนาความ\nสรุปผล: ด้วยการฝึกสมาธิด้วยความเมตตาและปฏิบัติตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา นักเรียนสามารถเสริมสร้างความยืดหยุ่นและเอาชนะภาวะซึมเศร้าได้ ลักษณะเชิงบวก เช่น การตระหนักรู้ในตนเอง ความพึงพอใจ และความขอบคุณ ได้รับการส่งเสริมโดยการฝึกฝนนี้ และจะปรับปรุงความสามารถในการปรับตัวและมนุษยสัมพันธ์ซึ่งมีความสำคัญต่อความยืดหยุ่น","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"10 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาด้วยการฝึกเมตตาภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา\",\"authors\":\"ปริยา ศุภวงศ์, ธนภณ สมหวัง\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.277226\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: เมื่อนักศึกษากำลังเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ วัยที่เต็มไปด้วยความรับผิดชอบและความคาดหวัง การเติบโตนี้จึงมาพร้อมกับจำนวนปัญหาที่มากขึ้นและขนาดของอุปสรรคที่ใหญ่ขึ้น นักศึกษาหลายคนไม่สามารถปรับตัวได้ หรืออาจปรับตัวได้ช้าจนก่อให้เกิดความเครียดเรื้อรังและกลายเป็นภาวะซึมเศร้าในที่สุด บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอวิธีการเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัว (Resilience) ด้วยการฝึกเมตตาภาวนาตามหลักพุทธศาสนา เพื่อป้องกันภาวะอาการซึมเศร้าที่เมื่อนานวันไปจะกลายเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งพบเพิ่มมากขึ้นทุกปีจากใบลาป่วยของนักศึกษาที่วินิจฉัยรับรองโดยแพทย์เฉพาะทาง  \\nระเบียบวิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง จากนั้นทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามประเด็นวัตถุประสงค์การศึกษาและใช้วิธีการนำเสนอเชิงพรรณนาความ\\nสรุปผล: ด้วยการฝึกสมาธิด้วยความเมตตาและปฏิบัติตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา นักเรียนสามารถเสริมสร้างความยืดหยุ่นและเอาชนะภาวะซึมเศร้าได้ ลักษณะเชิงบวก เช่น การตระหนักรู้ในตนเอง ความพึงพอใจ และความขอบคุณ ได้รับการส่งเสริมโดยการฝึกฝนนี้ และจะปรับปรุงความสามารถในการปรับตัวและมนุษยสัมพันธ์ซึ่งมีความสำคัญต่อความยืดหยุ่น\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\"10 12\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-07-22\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277226\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277226","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:เมือนักศึกษากำลังเติบโตเขาสู่วัยผู้ใหญ่ วัยที่เต็มไปด้ยวความรับผิดชอบและควาคาหใหญข้นวนปัญหาที่มกข้นและขนาดองุปสรคที่↪LoE43↩หญข้นนักศึกษาหลายคนไม่สามารถปรับตัวได้หรอือจาปรับตัวได้ช้าจนก่อให้เกิดควาเมเครียดเรื้อรังและกลายปน็ภาวะซึมเศร้าในที่สุดมตัว (Resilience) มตัวยการรเอกเมตตาภาวนตามหาลักพุทศศาสนเพือป้องกันภาวะอาการซึมเศราที่เมอืนานวันไปะกลายเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งพบเพิ่มากขึ้นทุกปีจากใบลาปยวขงนักศึกษาที่วินจิฉัยรับรงโดยแพทย์เฉพาะทาง ระเบียบวิธีการศึกษา:เE28↩กษาเE28↩ึกษาเอกสาราทงวิชากรที่เE28↩กี่ยวข้อง จากนั้นทกำารวิเคราระห์และสังเคราระห์มประเด็็นวัตัถุประสงค์การศึกษาและใช้วิธีการนำเสนอเชิงพรรณนาความสรปผ:ด้วยการรฝึกสมาธิด้วยความเมตตาและปฏิบัติามตาหาลักคอสำนของพุทธศาสนา นักเรียนสามารถเสริมสร้างความืยดหายุ่นและเอาชนะภาวะซึมเศร้าได้ เอกษณะเชิงบวกเช่นการตระเด็กเด็กเด็กเดง ความพึงพใอจ และความขอบคุณ ได้รับการส่งเสริมโดยการรฝึกเด็กเสี้ และจะปรับปรุงความสามารถในการปรับตัวและมนุษยสัมพันธ์ซอ่งมีความสำคัญต่ออความยดืหยุน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
การเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาด้วยการฝึกเมตตาภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: เมื่อนักศึกษากำลังเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ วัยที่เต็มไปด้วยความรับผิดชอบและความคาดหวัง การเติบโตนี้จึงมาพร้อมกับจำนวนปัญหาที่มากขึ้นและขนาดของอุปสรรคที่ใหญ่ขึ้น นักศึกษาหลายคนไม่สามารถปรับตัวได้ หรืออาจปรับตัวได้ช้าจนก่อให้เกิดความเครียดเรื้อรังและกลายเป็นภาวะซึมเศร้าในที่สุด บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอวิธีการเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัว (Resilience) ด้วยการฝึกเมตตาภาวนาตามหลักพุทธศาสนา เพื่อป้องกันภาวะอาการซึมเศร้าที่เมื่อนานวันไปจะกลายเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งพบเพิ่มมากขึ้นทุกปีจากใบลาป่วยของนักศึกษาที่วินิจฉัยรับรองโดยแพทย์เฉพาะทาง   ระเบียบวิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง จากนั้นทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามประเด็นวัตถุประสงค์การศึกษาและใช้วิธีการนำเสนอเชิงพรรณนาความ สรุปผล: ด้วยการฝึกสมาธิด้วยความเมตตาและปฏิบัติตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา นักเรียนสามารถเสริมสร้างความยืดหยุ่นและเอาชนะภาวะซึมเศร้าได้ ลักษณะเชิงบวก เช่น การตระหนักรู้ในตนเอง ความพึงพอใจ และความขอบคุณ ได้รับการส่งเสริมโดยการฝึกฝนนี้ และจะปรับปรุงความสามารถในการปรับตัวและมนุษยสัมพันธ์ซึ่งมีความสำคัญต่อความยืดหยุ่น
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信