ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

ศศิกาญจน์ อ่าววิจิตรกุล, ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล
{"title":"ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร","authors":"ศศิกาญจน์ อ่าววิจิตรกุล, ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล","doi":"10.60027/iarj.2024.276825","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะ พฤติกรรม แนวทางปฏิบัติที่สำคัญต่อการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนในสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการเรียนร่วมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เมื่อผู้บริหารมีภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 จะส่งผลให้สามารถบริหารจัดการเรียนร่วมได้อย่างดี เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระห่างภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร\nระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูการศึกษาพิเศษและครูที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 158 โรงเรียน ผู้วิจัยเลือกใช้ตารางสำเร็จรูปของ (Krejcie & Morgan, 1970) จำนวน 186 คน ค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ .837 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมด\nผลการวิจัย: (1) ระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r)= .856* แสดงว่าตัวแปรทั้งสองตัวมีความสัมพันธ์ในระดับสูง (3) โดยภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 พยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 73.5\nสรุปผล : ผลวิจัยสรุปว่า ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพัฒนาบุคลากรและด้านนักเรียน ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 ซึ่งชี้ว่าภาวะผู้นำวิชาการและการบริหารจัดการเรียนร่วมมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านเครื่องมือมีความสัมพันธ์มากที่สุด และภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 สามารถพยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วมได้ โดยด้านการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้มีอำนาจพยากรณ์สูงสุด","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"33 11","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร\",\"authors\":\"ศศิกาญจน์ อ่าววิจิตรกุล, ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.276825\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะ พฤติกรรม แนวทางปฏิบัติที่สำคัญต่อการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนในสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการเรียนร่วมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เมื่อผู้บริหารมีภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 จะส่งผลให้สามารถบริหารจัดการเรียนร่วมได้อย่างดี เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระห่างภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร\\nระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูการศึกษาพิเศษและครูที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 158 โรงเรียน ผู้วิจัยเลือกใช้ตารางสำเร็จรูปของ (Krejcie & Morgan, 1970) จำนวน 186 คน ค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ .837 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมด\\nผลการวิจัย: (1) ระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r)= .856* แสดงว่าตัวแปรทั้งสองตัวมีความสัมพันธ์ในระดับสูง (3) โดยภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 พยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 73.5\\nสรุปผล : ผลวิจัยสรุปว่า ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพัฒนาบุคลากรและด้านนักเรียน ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 ซึ่งชี้ว่าภาวะผู้นำวิชาการและการบริหารจัดการเรียนร่วมมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านเครื่องมือมีความสัมพันธ์มากที่สุด และภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 สามารถพยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วมได้ โดยด้านการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้มีอำนาจพยากรณ์สูงสุด\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\"33 11\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-07-24\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276825\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276825","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะ พฤติกรรม แนวทางปฏิบัติที่สำคัญต่อการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนในสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการเรียนร่วมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษเมื่อผู้บริหารมีภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 จะส่งผลให้สามารถบริหารจัดการเรียนร่วมได้อย่างดี เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพือศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพือศึกษาระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพอือศึกษาความสัมพันธ์ระหา่งภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตรรษที่21 และการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครระเบียบวิธีการวิจัย:ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูการศึกษาพิเศษและครูที่เเกี่ยวขอ้งใช้ในสถานศึกษา สังกัดารุงเทพมหานคร จำนวน 158 โรงเรียน ผู้วิจัยเลอืกใช้ตารางสำเร็จรูของ (Krejcie & Morgan、1970) จำนวน 186 คน ค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ .837 สถิติที่ใช้ในการวจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์หสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมดผลการวจัย:(1) ระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2)ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับารบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r)= .856* แสดงว่าตัวแปรทั้งสองตัวมีความสัมพันธ์ในระดับสูง (3) โดยภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรษที่ 21 พยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ไดร้อยละ 73.5สรุปผล :ผลวิจัยสรุปว่า ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพัฒนาบุคลากรและด้านนักเรียนภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับารบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 ึซ่งชี้ว่าภาวะผู้นำวิชาการและการบิหาจัดการเรียนร่วมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านเครอือมีความสัมพันธ์มากที่สุดและภาวะผู้นำวิชาการในศตวรษที่ 21 สามารถพยากรณ์การบริหาจรัดการเรียนร่วมได้โดยด้านการสร้างเครอขา่ยการเรียนรู้มีอำนาจพยากรณ์สูงสุด
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะ พฤติกรรม แนวทางปฏิบัติที่สำคัญต่อการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนในสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการเรียนร่วมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เมื่อผู้บริหารมีภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 จะส่งผลให้สามารถบริหารจัดการเรียนร่วมได้อย่างดี เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระห่างภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูการศึกษาพิเศษและครูที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 158 โรงเรียน ผู้วิจัยเลือกใช้ตารางสำเร็จรูปของ (Krejcie & Morgan, 1970) จำนวน 186 คน ค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ .837 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมด ผลการวิจัย: (1) ระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r)= .856* แสดงว่าตัวแปรทั้งสองตัวมีความสัมพันธ์ในระดับสูง (3) โดยภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 พยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 73.5 สรุปผล : ผลวิจัยสรุปว่า ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพัฒนาบุคลากรและด้านนักเรียน ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 ซึ่งชี้ว่าภาวะผู้นำวิชาการและการบริหารจัดการเรียนร่วมมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านเครื่องมือมีความสัมพันธ์มากที่สุด และภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 สามารถพยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วมได้ โดยด้านการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้มีอำนาจพยากรณ์สูงสุด
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信