{"title":"รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับห้องเรียนโรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น","authors":"วัชระ คงแสนคำ","doi":"10.60027/iarj.2024.276197","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น เพื่อนำมาใช้ในพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน พร้อมการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับห้องเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนมากที่สุด มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนแวงใหญ่ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม 3) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่ และ 4) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ (Operations Research) ประชากร ได้แก่ ครู จำนวน 41 คน และนักเรียน จำนวน 603 คน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ปีการศึกษา 2561-2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 3) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ 5) คู่มือการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน 6) แบบประเมินผลการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ 7) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\nผลการวิจัย: (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ โดยแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ประกอบด้วยการส่งเสริมด้านการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านการบริหารจัดการและการนำองค์กรแบบมีส่วนร่วม (2) สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน คือ 0.55 (PNImodified= 0.55) (3) รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) องค์ประกอบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบบ 5) การวัดและประเมินผล โดยรูปแบบมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นประโยชน์ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา พบว่า 1) ผลการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา หลังการทดลองอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่าหลังการทดลองใช้รูปแบบรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลอง และ 3) ความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด\nสรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่า รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่เหมาะสมชัดเจน ส่งผลให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"30 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับห้องเรียนโรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น\",\"authors\":\"วัชระ คงแสนคำ\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.276197\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น เพื่อนำมาใช้ในพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน พร้อมการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับห้องเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนมากที่สุด มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนแวงใหญ่ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม 3) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่ และ 4) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม\\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ (Operations Research) ประชากร ได้แก่ ครู จำนวน 41 คน และนักเรียน จำนวน 603 คน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ปีการศึกษา 2561-2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 3) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ 5) คู่มือการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน 6) แบบประเมินผลการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ 7) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\\nผลการวิจัย: (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ โดยแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ประกอบด้วยการส่งเสริมด้านการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านการบริหารจัดการและการนำองค์กรแบบมีส่วนร่วม (2) สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน คือ 0.55 (PNImodified= 0.55) (3) รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) องค์ประกอบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบบ 5) การวัดและประเมินผล โดยรูปแบบมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นประโยชน์ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา พบว่า 1) ผลการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา หลังการทดลองอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่าหลังการทดลองใช้รูปแบบรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลอง และ 3) ความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด\\nสรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่า รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่เหมาะสมชัดเจน ส่งผลให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\"30 5\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-07-02\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276197\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276197","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0