{"title":"สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนของบริษัทโทรคมนาคมในประเทศไทยผ่านตัวแปรส่งผ่าน“ความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง”","authors":"วิศาลศรี นิโลดม, สวัสดิ์ วรรณรัตน์","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.269399","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยเชิงปริมาณนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน และศึกษาอิทธิพลทางอ้อมของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน โดยผ่านตัวแปรส่งผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหาร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารที่รับผิดชอบหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กร จำนวน 379 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) จากการศึกษาพบว่า สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตมีอิทธิพลทางตรงต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน ด้านผลประกอบการขององค์กร ด้านการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.65, 0.55 และ 0.49 ตามลำดับ (p-value < 0.01) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้านการตลาดโดยผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.17 (p-value < 0.05) และมีค่าสัมประสิทธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.72 (p-value < 0.01) ส่วนผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแปรแฝง สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัต ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร ผลประกอบการองค์การ ผลการดำเนินงานด้านการตลาด และผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และองค์ประกอบย่อยของโมเดลโครงสร้าง โดยมีค่า /df = 3.300, NFI = 0.921, IFI = 0.944, TLI = 0.929, CFI = 0.943, RMR = 0.047, RMSEA = 0.078 (p-value < 0.01)","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"944 ","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนของบริษัทโทรคมนาคมในประเทศไทยผ่านตัวแปรส่งผ่าน “ความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง”\",\"authors\":\"วิศาลศรี นิโลดม, สวัสดิ์ วรรณรัตน์\",\"doi\":\"10.60101/rmuttgber.2023.269399\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยเชิงปริมาณนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน และศึกษาอิทธิพลทางอ้อมของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน โดยผ่านตัวแปรส่งผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหาร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารที่รับผิดชอบหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กร จำนวน 379 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) จากการศึกษาพบว่า สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตมีอิทธิพลทางตรงต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน ด้านผลประกอบการขององค์กร ด้านการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.65, 0.55 และ 0.49 ตามลำดับ (p-value < 0.01) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้านการตลาดโดยผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.17 (p-value < 0.05) และมีค่าสัมประสิทธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.72 (p-value < 0.01) ส่วนผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแปรแฝง สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัต ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร ผลประกอบการองค์การ ผลการดำเนินงานด้านการตลาด และผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และองค์ประกอบย่อยของโมเดลโครงสร้าง โดยมีค่า /df = 3.300, NFI = 0.921, IFI = 0.944, TLI = 0.929, CFI = 0.943, RMR = 0.047, RMSEA = 0.078 (p-value < 0.01)\",\"PeriodicalId\":508629,\"journal\":{\"name\":\"RMUTT Global Business and Economics Review\",\"volume\":\"944 \",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2023-12-16\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"RMUTT Global Business and Economics Review\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.269399\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"RMUTT Global Business and Economics Review","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.269399","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
摘要
栨闉憵灕และศึกษาอิทธิพลทาง้อมของสมรรถนะในการวิผ่นตัวแปรส่งผ่นความุ่งมันขงผู้บริหารโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารที่รับผิดชอบหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กร จำนวน 379 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) จากการศึกษาพบว่าสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตมอีิทธิพลทางตรงต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งืยน ด้านผลประกอบการของค์กร ด้านการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.65, 0.55 และ 0.49 ตามลำดับ (p-value < 0.01) และีอิทธิพลทางอ้อมต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้านการตลาดโยผ่านความุ่งมั่นของผู้บริหาระดับสูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.17 (p-value < 0.05) และมีค่าสัมประสิทธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.72 (p-value < 0. 01) ส่วนธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.01) ส่วนผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแปรแฝง สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตความุ่งมันของผู้บริหาร ผลประกอบารองค์การ300, NFI = 0.921, IFI = 0.944, TLI = 0.929, CFI = 0.943, RMR = 0.047, RMSEA = 0.078 (p-value < 0.01)
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนของบริษัทโทรคมนาคมในประเทศไทยผ่านตัวแปรส่งผ่าน “ความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง”
การวิจัยเชิงปริมาณนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน และศึกษาอิทธิพลทางอ้อมของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน โดยผ่านตัวแปรส่งผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหาร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารที่รับผิดชอบหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กร จำนวน 379 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) จากการศึกษาพบว่า สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตมีอิทธิพลทางตรงต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน ด้านผลประกอบการขององค์กร ด้านการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.65, 0.55 และ 0.49 ตามลำดับ (p-value < 0.01) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้านการตลาดโดยผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.17 (p-value < 0.05) และมีค่าสัมประสิทธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.72 (p-value < 0.01) ส่วนผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแปรแฝง สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัต ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร ผลประกอบการองค์การ ผลการดำเนินงานด้านการตลาด และผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และองค์ประกอบย่อยของโมเดลโครงสร้าง โดยมีค่า /df = 3.300, NFI = 0.921, IFI = 0.944, TLI = 0.929, CFI = 0.943, RMR = 0.047, RMSEA = 0.078 (p-value < 0.01)