{"title":"อิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย","authors":"บุญฑริกา วงษ์วานิช, ทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.269079","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่มีสถานประกอบการที่แน่นอนสามารถติดต่อได้และจดทะเบียนนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้บริหาร พนักงานหรือผู้แทนองค์การที่มีความเข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการในองค์การจำนวน 336 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ และสถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงและพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี ตรวจสอบความกลมกลืน ได้แก่ Chi-square = 62.492, df = 51, p-value = 0.130, Chi-square/df = 1.225, GFI = 0.975, AGFI = 0.948, NFI = 0.975, CFI = 0.995, RMSEA = 0.026 ประกอบด้วยความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรม มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"1397 ","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"อิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย\",\"authors\":\"บุญฑริกา วงษ์วานิช, ทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร\",\"doi\":\"10.60101/rmuttgber.2023.269079\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่มีสถานประกอบการที่แน่นอนสามารถติดต่อได้และจดทะเบียนนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้บริหาร พนักงานหรือผู้แทนองค์การที่มีความเข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการในองค์การจำนวน 336 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ และสถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงและพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี ตรวจสอบความกลมกลืน ได้แก่ Chi-square = 62.492, df = 51, p-value = 0.130, Chi-square/df = 1.225, GFI = 0.975, AGFI = 0.948, NFI = 0.975, CFI = 0.995, RMSEA = 0.026 ประกอบด้วยความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรม มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05\",\"PeriodicalId\":508629,\"journal\":{\"name\":\"RMUTT Global Business and Economics Review\",\"volume\":\"1397 \",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2023-12-16\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"RMUTT Global Business and Economics Review\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.269079\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"RMUTT Global Business and Economics Review","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.269079","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
摘要
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมที่มี่อผลารดำเนินงานของุอตสาหากรรมไฟฟ้าและอเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่งได้แกทยผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่มีสถานประกอบการที่แน่นอนสามารถติดต่อได้และจดทะเบียนนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้บริหารพนักงานหรือผู้แทนองค์การที่มีความเข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการในองค์การจำนวน 336 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ และสถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวจัยพบว่ามเด็กเดี่ผู้วิจัยไดปรับปรุงและพัฒนาขึ้นีความสอดคล้องกลมกลืนับขอ้มลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี ตรวจสอบความกลมกลืน ได้แก่ Chi-square = 62.492, df = 51, p-value = 0.130, Chi-square/df = 1.225, GFI = 0.975, AGFI = 0.948, NFI = 0.975, CFI = 0.995, RMSEA = 0.026 ประกอบด้วยความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรม มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
อิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่มีสถานประกอบการที่แน่นอนสามารถติดต่อได้และจดทะเบียนนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้บริหาร พนักงานหรือผู้แทนองค์การที่มีความเข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการในองค์การจำนวน 336 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ และสถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงและพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี ตรวจสอบความกลมกลืน ได้แก่ Chi-square = 62.492, df = 51, p-value = 0.130, Chi-square/df = 1.225, GFI = 0.975, AGFI = 0.948, NFI = 0.975, CFI = 0.995, RMSEA = 0.026 ประกอบด้วยความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรม มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05