เรื่องเล่าการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์สู่แนวทางการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Wanwisa Ploy Insawang, พิทักษ์ ศิริวงศ์
{"title":"เรื่องเล่าการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์สู่แนวทางการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน","authors":"Wanwisa Ploy Insawang, พิทักษ์ ศิริวงศ์","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3201","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องเล่าของนักท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ (Camper) และนำเสนอแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์อย่างยั่งยืน โดยการเล่าเรื่องราวผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ของผู้วิจัยและสะท้อนภาพความคิดของกลุ่มนักท่องเที่ยวดังกล่าวที่ผู้วิจัยมีฐานะเป็น “คนในกลุ่ม” (Emic) ด้วยวิธีวิทยาแนวอัตชาติพันธุ์วรรณาเชิงวิพากษ์ (Critical Autoethnography) พร้อมด้วยนักกางเต็นท์ที่มีประสบการณ์มากกว่า 3 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน เป็นผู้ร่วมสนทนา ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบไม่เป็นทางการ เน้นการร่วมสนทนาและการสร้างประสบการณ์ระหว่างกัน พร้อมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) ผลการวิจัยพบว่า กระแสสังคมในปัจจุบันส่งผลให้รูปแบบการท่องเที่ยวกางเต็นท์เปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนด้านลักษณะพฤติกรรมของนักกางเต็นท์รุ่นใหม่ จึงทำให้ต้องมีแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ให้มีความยั่งยืนครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน มิติที่ 2) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคม เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น มิติที่ 3) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว และมิติที่ 4) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การท่องเที่ยวในรูปแบบการกางเต็นท์สร้างประโยชน์สูงสุด มีความยั่งยืนและคงอยู่ต่อไป","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"139 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"เรื่องเล่าการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์สู่แนวทางการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน\",\"authors\":\"Wanwisa Ploy Insawang, พิทักษ์ ศิริวงศ์\",\"doi\":\"10.60101/jla.2023.4.2.3201\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องเล่าของนักท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ (Camper) และนำเสนอแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์อย่างยั่งยืน โดยการเล่าเรื่องราวผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ของผู้วิจัยและสะท้อนภาพความคิดของกลุ่มนักท่องเที่ยวดังกล่าวที่ผู้วิจัยมีฐานะเป็น “คนในกลุ่ม” (Emic) ด้วยวิธีวิทยาแนวอัตชาติพันธุ์วรรณาเชิงวิพากษ์ (Critical Autoethnography) พร้อมด้วยนักกางเต็นท์ที่มีประสบการณ์มากกว่า 3 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน เป็นผู้ร่วมสนทนา ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบไม่เป็นทางการ เน้นการร่วมสนทนาและการสร้างประสบการณ์ระหว่างกัน พร้อมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) ผลการวิจัยพบว่า กระแสสังคมในปัจจุบันส่งผลให้รูปแบบการท่องเที่ยวกางเต็นท์เปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนด้านลักษณะพฤติกรรมของนักกางเต็นท์รุ่นใหม่ จึงทำให้ต้องมีแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ให้มีความยั่งยืนครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน มิติที่ 2) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคม เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น มิติที่ 3) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว และมิติที่ 4) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การท่องเที่ยวในรูปแบบการกางเต็นท์สร้างประโยชน์สูงสุด มีความยั่งยืนและคงอยู่ต่อไป\",\"PeriodicalId\":489378,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Liberal Arts RMUTT\",\"volume\":\"139 10\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2023-12-21\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Liberal Arts RMUTT\",\"FirstCategoryId\":\"0\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3201\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Liberal Arts RMUTT","FirstCategoryId":"0","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3201","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

การวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่↪LoE28↩ึกษาเรืองเล่าของนักท่องเที่ยวแบกางเต็นท์ (Camper)และนำเสนอแนวทางในการจัดากรการท่องเที่ยวแบกางเต็นทอ์ย่างยั่ยืนโดยการเลืองราวผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวแบกางเต็นท์ของผู้วิจัยและสะท้อนภาพความคิของกลุ่มนักท่องเที่ยวดังกล่าวที่ผู้วิจัยมีไป็น"คนในกลุ่ม" (Emic) ด้วยวิธีวิทยาแนวอัตชาติพันธุ์วรรณาเชิงวิพากษ์ (Critical Autoethnography)พร้อมด้วยนักกางเต็นท์ที่มีประสบากรณ์มากกว่า 3 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน เป็นผู้ร่วมสนทนา ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-深度访谈) เชิงลางกร เน้นการร่วมสนทนาและการสร้างประสบารณ์ระหว่างกัน พร้มอกับารสังกเตแบมีส่วนร่วม(参与者观察) เE1C↩ลการวจัยพบว่า กระแสสังคมในปัจจุบันส่งผลให้รูปแบการท่องเที่ยวกางเต็นท์เปลี่ยนแปลงไปเทั้งในด้านลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนด้านลักษณะพฤติกรรมของนักางเต็นท์รุ่นใหม่เต็งทำใ4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน มิติที่ 2) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคมเศรษฐกจิแก่ชุมชนท้องถิ่น มิติที่ 3) การเพิ่มผลประโยชน์และดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว4) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้าน ลบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การท่องเที่ยวในรูปแบบารกางเต็นท์สร้างประโยชน์สูงสุด มีควายั่งยืนและคงอยู่ตอไป
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
เรื่องเล่าการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์สู่แนวทางการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องเล่าของนักท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ (Camper) และนำเสนอแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์อย่างยั่งยืน โดยการเล่าเรื่องราวผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ของผู้วิจัยและสะท้อนภาพความคิดของกลุ่มนักท่องเที่ยวดังกล่าวที่ผู้วิจัยมีฐานะเป็น “คนในกลุ่ม” (Emic) ด้วยวิธีวิทยาแนวอัตชาติพันธุ์วรรณาเชิงวิพากษ์ (Critical Autoethnography) พร้อมด้วยนักกางเต็นท์ที่มีประสบการณ์มากกว่า 3 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน เป็นผู้ร่วมสนทนา ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบไม่เป็นทางการ เน้นการร่วมสนทนาและการสร้างประสบการณ์ระหว่างกัน พร้อมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) ผลการวิจัยพบว่า กระแสสังคมในปัจจุบันส่งผลให้รูปแบบการท่องเที่ยวกางเต็นท์เปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนด้านลักษณะพฤติกรรมของนักกางเต็นท์รุ่นใหม่ จึงทำให้ต้องมีแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ให้มีความยั่งยืนครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน มิติที่ 2) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคม เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น มิติที่ 3) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว และมิติที่ 4) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การท่องเที่ยวในรูปแบบการกางเต็นท์สร้างประโยชน์สูงสุด มีความยั่งยืนและคงอยู่ต่อไป
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信