{"title":"城市发展案例分析,天堂世界","authors":"Thanawin Wijitporn, Pranom Tansukanun","doi":"10.56261/jars.v20i1.248188","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":" การวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมืองกรณีศึกษาเมืองสวรรคโลกมีจุดประสงค์เพื่อทำความเข้าใจผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่าง ๆ ในการพัฒนาเมืองสวรรคโลก โดยการดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติภายใต้โครงการพัฒนาเมืองทุกมิติอย่างมีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) เพื่อทำความเข้าใจระดับอำนาจ ความสนใจ บทบาท และความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง พบว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถแบ่งได้สามกลุ่มคือ หน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน โดยในปัจจุบันหน่วยงานรัฐ (เทศบาลเมืองสวรรคโลก) เป็นผู้มี อำนาจ ความสนใจ และบทบาทสูงสุด และภาคประชาชนมีบทบาทน้อยที่สุดในการกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ซึ่งขัดแย้งกับลักษณะความสัมพันธ์ด้าน อิทธิพล และความสนใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่พบว่าภาคประชาชนเป็นผู้ได้รับความสนใจจากภาครัฐและภาคเอกชนสูงสุด นำไปสู่ข้อเสนอแนะด้านการส่งเสริมความสนใจ และการเสริมอำนาจให้กับภาคประชาชนให้มีบทบาทในการพัฒนาเมืองที่มากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยแบ่งเป็นแนวทางระยะสั้น คือการเปลี่ยนแปลงบทบาทของหน่วยงานรัฐจากเดิมที่มีบทบาทเป็นผู้ดำเนินการทั้งหมด เป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ภาคเอกชน และประชาชนในการพัฒนาผ่านการดำเนินการโครงการระยะสั้น เมื่อภาคเอกชน และประชาชนมีความสนใจที่เพิ่มขึ้น มีการรวมกลุ่มดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมประกอบกับวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันในเมืองเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติแล้วจึงนำไปสู่ข้อเสนอในระยะยาว คือการให้ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนมีอำนาจและความสนใจในระดับทัดเทียมกันและดำเนินการร่วมสร้าง(Co Create)การพัฒนาเมืองร่วมกันเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"105 2 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-09-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง กรณีศึกษาเมืองสวรรคโลก\",\"authors\":\"Thanawin Wijitporn, Pranom Tansukanun\",\"doi\":\"10.56261/jars.v20i1.248188\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\" การวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมืองกรณีศึกษาเมืองสวรรคโลกมีจุดประสงค์เพื่อทำความเข้าใจผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่าง ๆ ในการพัฒนาเมืองสวรรคโลก โดยการดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติภายใต้โครงการพัฒนาเมืองทุกมิติอย่างมีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) เพื่อทำความเข้าใจระดับอำนาจ ความสนใจ บทบาท และความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง พบว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถแบ่งได้สามกลุ่มคือ หน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน โดยในปัจจุบันหน่วยงานรัฐ (เทศบาลเมืองสวรรคโลก) เป็นผู้มี อำนาจ ความสนใจ และบทบาทสูงสุด และภาคประชาชนมีบทบาทน้อยที่สุดในการกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ซึ่งขัดแย้งกับลักษณะความสัมพันธ์ด้าน อิทธิพล และความสนใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่พบว่าภาคประชาชนเป็นผู้ได้รับความสนใจจากภาครัฐและภาคเอกชนสูงสุด นำไปสู่ข้อเสนอแนะด้านการส่งเสริมความสนใจ และการเสริมอำนาจให้กับภาคประชาชนให้มีบทบาทในการพัฒนาเมืองที่มากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยแบ่งเป็นแนวทางระยะสั้น คือการเปลี่ยนแปลงบทบาทของหน่วยงานรัฐจากเดิมที่มีบทบาทเป็นผู้ดำเนินการทั้งหมด เป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ภาคเอกชน และประชาชนในการพัฒนาผ่านการดำเนินการโครงการระยะสั้น เมื่อภาคเอกชน และประชาชนมีความสนใจที่เพิ่มขึ้น มีการรวมกลุ่มดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมประกอบกับวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันในเมืองเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติแล้วจึงนำไปสู่ข้อเสนอในระยะยาว คือการให้ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนมีอำนาจและความสนใจในระดับทัดเทียมกันและดำเนินการร่วมสร้าง(Co Create)การพัฒนาเมืองร่วมกันเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"105 2 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-09-02\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v20i1.248188\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v20i1.248188","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0