工业区域缓冲距离标准的应用,用于确定运输站和散装货物的缓冲距离。

Jirakrit Judphol
{"title":"工业区域缓冲距离标准的应用,用于确定运输站和散装货物的缓冲距离。","authors":"Jirakrit Judphol","doi":"10.56261/jars.v20i1.246696","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การกำหนดพื้นที่กันชนรอบพื้นที่อุตสาหกรรมเป็นวิธีการจัดการเชิงพื้นที่ที่ใช้อย่างกว้างขวาง โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดผลกระทบเชิงลบจากพื้นที่อุตสาหกรรมที่ปล่อยสู่พื้นที่โดยรอบ สถานีขนส่งและกระจายสินค้าเป็นหนึ่งในรูปแบบของพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงบริการ มีกิจกรรมภายในโครงการที่สร้างผลกระทบเชิงลบสู่พื้นที่ภายนอกเช่นเดียวกับพื้นที่อุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างมลพิษทางอากาศและเสียงรบกวน อย่างไรก็ดีมาตรฐานการกำหนดพื้นที่กันชนที่ปรากฏในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นการกำหนดระยะกันชนสำหรับพื้นที่อุตสาหกรรมด้านการผลิต ยังไม่มีมาตรฐานสากลสำหรับการกำหนดระยะกันชนของพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงบริการประเภทสถานีขนส่งและกระจายสินค้า บทความฉบับนี้ศึกษารวบรวมมาตรฐานการกำหนดพื้นที่กันชนสำหรับพื้นที่อุตสาหกรรมและพื้นที่กิจกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบันและทำการวิเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้มาตรฐานที่มีอยู่เพื่อกำหนดระยะกันชนสำหรับสถานีขนส่งและกระจายสินค้า โดยเสนอแนะแนวทางการกำหนดระยะกันชนจาก 2 ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ 1) การจำแนกตามคุณลักษณะทางกายภาพของสถานีขนส่งและกระจายสินค้าและ 2) การจำแนกตามพื้นที่กิจกรรมภายในสถานีขนส่งและกระจายสินค้า จากนั้นนำแนวทางที่พัฒนามาจากแนวทางที่มีมาอธิบายให้เห็นการนำไปใช้จริงผ่านกรณีศึกษาโครงการสถานีขนส่งและกระจายสินค้าจังหวัดพิษณุโลก เพื่อแสดงถึงความแตกต่างจากแนวทางการกำหนดระยะกันชนทั้ง 2 รูปแบบและข้อสังเกตที่ได้จากการใช้แนวทางการกำหนดระยะกันชนกับกรณีศึกษา","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"8 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-08-30","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การประยุกต์ใช้เกณฑ์มาตรฐานการกำหนดระยะกันชนของพื้นที่อุตสาหกรรมสำหรับกำหนดระยะกันชนของสถานีขนส่งและกระจายสินค้า\",\"authors\":\"Jirakrit Judphol\",\"doi\":\"10.56261/jars.v20i1.246696\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การกำหนดพื้นที่กันชนรอบพื้นที่อุตสาหกรรมเป็นวิธีการจัดการเชิงพื้นที่ที่ใช้อย่างกว้างขวาง โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดผลกระทบเชิงลบจากพื้นที่อุตสาหกรรมที่ปล่อยสู่พื้นที่โดยรอบ สถานีขนส่งและกระจายสินค้าเป็นหนึ่งในรูปแบบของพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงบริการ มีกิจกรรมภายในโครงการที่สร้างผลกระทบเชิงลบสู่พื้นที่ภายนอกเช่นเดียวกับพื้นที่อุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างมลพิษทางอากาศและเสียงรบกวน อย่างไรก็ดีมาตรฐานการกำหนดพื้นที่กันชนที่ปรากฏในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นการกำหนดระยะกันชนสำหรับพื้นที่อุตสาหกรรมด้านการผลิต ยังไม่มีมาตรฐานสากลสำหรับการกำหนดระยะกันชนของพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงบริการประเภทสถานีขนส่งและกระจายสินค้า บทความฉบับนี้ศึกษารวบรวมมาตรฐานการกำหนดพื้นที่กันชนสำหรับพื้นที่อุตสาหกรรมและพื้นที่กิจกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบันและทำการวิเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้มาตรฐานที่มีอยู่เพื่อกำหนดระยะกันชนสำหรับสถานีขนส่งและกระจายสินค้า โดยเสนอแนะแนวทางการกำหนดระยะกันชนจาก 2 ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ 1) การจำแนกตามคุณลักษณะทางกายภาพของสถานีขนส่งและกระจายสินค้าและ 2) การจำแนกตามพื้นที่กิจกรรมภายในสถานีขนส่งและกระจายสินค้า จากนั้นนำแนวทางที่พัฒนามาจากแนวทางที่มีมาอธิบายให้เห็นการนำไปใช้จริงผ่านกรณีศึกษาโครงการสถานีขนส่งและกระจายสินค้าจังหวัดพิษณุโลก เพื่อแสดงถึงความแตกต่างจากแนวทางการกำหนดระยะกันชนทั้ง 2 รูปแบบและข้อสังเกตที่ได้จากการใช้แนวทางการกำหนดระยะกันชนกับกรณีศึกษา\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"8 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-08-30\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v20i1.246696\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v20i1.246696","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

在工业区域周围建立缓冲区域是一种广泛使用的空间管理方法。作为服务型工业园区的一种形式,项目内的活动对外部区域产生负面影响,以及其他类型的工业区域,特别是空气污染和噪音。然而,目前出现的保险杠面积定义标准主要是针对制造业区域的保险杠距离定义。在此基础上,还没有国际标准来确定服务站和散货区的保险杠距离。本文结合现有的工业区域和活动区域的保险杠距离定义标准,并应用现有的标准来确定运输和散货区的保险杠距离。提出了两大因素的缓冲距离的确定方法:1)根据货站和货物分配的物理特性进行分类,2)根据货站和货物分配的活动区域进行分类。然后,根据现有的指导方针,通过案例研究,对Phitsanulok省的运输和分销站进行了实际应用的描述。为了说明这两种缓冲距离的定义方法的不同之处,并在案例研究中使用缓冲距离的定义方法进行了观察。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
การประยุกต์ใช้เกณฑ์มาตรฐานการกำหนดระยะกันชนของพื้นที่อุตสาหกรรมสำหรับกำหนดระยะกันชนของสถานีขนส่งและกระจายสินค้า
การกำหนดพื้นที่กันชนรอบพื้นที่อุตสาหกรรมเป็นวิธีการจัดการเชิงพื้นที่ที่ใช้อย่างกว้างขวาง โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดผลกระทบเชิงลบจากพื้นที่อุตสาหกรรมที่ปล่อยสู่พื้นที่โดยรอบ สถานีขนส่งและกระจายสินค้าเป็นหนึ่งในรูปแบบของพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงบริการ มีกิจกรรมภายในโครงการที่สร้างผลกระทบเชิงลบสู่พื้นที่ภายนอกเช่นเดียวกับพื้นที่อุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างมลพิษทางอากาศและเสียงรบกวน อย่างไรก็ดีมาตรฐานการกำหนดพื้นที่กันชนที่ปรากฏในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นการกำหนดระยะกันชนสำหรับพื้นที่อุตสาหกรรมด้านการผลิต ยังไม่มีมาตรฐานสากลสำหรับการกำหนดระยะกันชนของพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงบริการประเภทสถานีขนส่งและกระจายสินค้า บทความฉบับนี้ศึกษารวบรวมมาตรฐานการกำหนดพื้นที่กันชนสำหรับพื้นที่อุตสาหกรรมและพื้นที่กิจกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบันและทำการวิเคราะห์เพื่อประยุกต์ใช้มาตรฐานที่มีอยู่เพื่อกำหนดระยะกันชนสำหรับสถานีขนส่งและกระจายสินค้า โดยเสนอแนะแนวทางการกำหนดระยะกันชนจาก 2 ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ 1) การจำแนกตามคุณลักษณะทางกายภาพของสถานีขนส่งและกระจายสินค้าและ 2) การจำแนกตามพื้นที่กิจกรรมภายในสถานีขนส่งและกระจายสินค้า จากนั้นนำแนวทางที่พัฒนามาจากแนวทางที่มีมาอธิบายให้เห็นการนำไปใช้จริงผ่านกรณีศึกษาโครงการสถานีขนส่งและกระจายสินค้าจังหวัดพิษณุโลก เพื่อแสดงถึงความแตกต่างจากแนวทางการกำหนดระยะกันชนทั้ง 2 รูปแบบและข้อสังเกตที่ได้จากการใช้แนวทางการกำหนดระยะกันชนกับกรณีศึกษา
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信