{"title":"Nakhon Nakhon Ratchasima小学的标准学习案例研究的现状和问题","authors":"ปัทมาภรณ์ รัตนประดับ, ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล","doi":"10.56261/jars.v20i1.246828","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"สภาพแวดล้อมอาคารเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ใช้อาคาร โดยการส่งเสริมด้านสุขภาวะของผู้ใช้อาคารเรียน มีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านที่ตั้ง คุณลักษณะอาคารเรียน และสภาพแวดล้อมภายในอาคารเรียน บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบันของอาคารเรียนแบบมาตรฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีการก่อสร้างในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โดยการคัดเลือกอาคารเรียนตัวอย่างจากรูปแบบที่มีสัดส่วนสูงสุดในพื้นที่ศึกษา ผลการศึกษา พบว่า (1) อาคารเรียนตัวอย่าง ที่ตั้งในเขตอำเภอเมือง มีระดับเสียงพื้นหลังสูงกว่าเขตชานเมือง ขณะที่อาคารเรียนที่ตั้งเขตชานเมือง มีความเร็วลมธรรมชาติสูงกว่า 0.3 m/s เนื่องจากอาคารข้างเคียงมีความหนาแน่นน้อย พื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรม และโรงเรียนมีขนาดพื้นที่ว่าง ระยะห่างระหว่างอาคารเรียนมากกว่าโรงเรียนเขตเมือง (2) สภาพการใช้งานจริงของอาคารเรียนปัจจุบัน จากจำนวน 8 อาคาร พบว่า จำนวน 7 หลัง มีพื้นที่ปิดหรือไม่ถูกใช้งาน และมีการต่อเติมหรือปรับพื้นที่ใช้งาน ลักษณะอื่นที่มีความแตกต่างจากแบบมาตรฐาน และอาคารเรียน จำนวน 1 หลัง ปิดใช้งานพื้นที่ทั้งหมด (3) สภาพแวดล้อมในอาคารเรียน โดยการสำรวจด้วยเครื่องมือวัดค่าตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อมอาคาร และเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานด้านสภาพแวดล้อมอาคาร พบว่า ปัญหาด้านสุขภาวะในอาคารเรียน ได้แก่ เสียง แสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์ และสภาวะน่าสบายตามลำดับ","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"136 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-07-13","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"สภาพปัจจุบันและปัญหาด้านสุขภาวะของอาคารเรียน กรณีศึกษา อาคารเรียนแบบมาตรฐาน ในโรงเรียนประถมศึกษา เขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา\",\"authors\":\"ปัทมาภรณ์ รัตนประดับ, ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล\",\"doi\":\"10.56261/jars.v20i1.246828\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"สภาพแวดล้อมอาคารเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ใช้อาคาร โดยการส่งเสริมด้านสุขภาวะของผู้ใช้อาคารเรียน มีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านที่ตั้ง คุณลักษณะอาคารเรียน และสภาพแวดล้อมภายในอาคารเรียน บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบันของอาคารเรียนแบบมาตรฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีการก่อสร้างในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โดยการคัดเลือกอาคารเรียนตัวอย่างจากรูปแบบที่มีสัดส่วนสูงสุดในพื้นที่ศึกษา ผลการศึกษา พบว่า (1) อาคารเรียนตัวอย่าง ที่ตั้งในเขตอำเภอเมือง มีระดับเสียงพื้นหลังสูงกว่าเขตชานเมือง ขณะที่อาคารเรียนที่ตั้งเขตชานเมือง มีความเร็วลมธรรมชาติสูงกว่า 0.3 m/s เนื่องจากอาคารข้างเคียงมีความหนาแน่นน้อย พื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรม และโรงเรียนมีขนาดพื้นที่ว่าง ระยะห่างระหว่างอาคารเรียนมากกว่าโรงเรียนเขตเมือง (2) สภาพการใช้งานจริงของอาคารเรียนปัจจุบัน จากจำนวน 8 อาคาร พบว่า จำนวน 7 หลัง มีพื้นที่ปิดหรือไม่ถูกใช้งาน และมีการต่อเติมหรือปรับพื้นที่ใช้งาน ลักษณะอื่นที่มีความแตกต่างจากแบบมาตรฐาน และอาคารเรียน จำนวน 1 หลัง ปิดใช้งานพื้นที่ทั้งหมด (3) สภาพแวดล้อมในอาคารเรียน โดยการสำรวจด้วยเครื่องมือวัดค่าตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อมอาคาร และเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานด้านสภาพแวดล้อมอาคาร พบว่า ปัญหาด้านสุขภาวะในอาคารเรียน ได้แก่ เสียง แสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์ และสภาวะน่าสบายตามลำดับ\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"136 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-07-13\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v20i1.246828\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v20i1.246828","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0